รายละเอียด
แมลงศัตรูพืชและการควบคุม / Plant Insect Pests and Their Controls
- 0 สัปดาห์
- จำนวนนักศึกษา 0 คน
- อาจารย์ผู้สอน 1 คน
ข้อมูลรายวิชา
- รหัสรายวิชา : BSCAG111
- ชื่อรายวิชา(TH) : แมลงศัตรูพืชและการควบคุม
- ชื่อรายวิชา (EN) : Plant Insect Pests and Their Controls
- เทอม / ปีการศึกษา : 2/2564
รายละเอียด
|

รายละเอียดของรายวิชา
(มคอ.3)
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา เกษตรศาสตร์
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
รหัสวิชา BSCAG111
ชื่อวิชา แมลงศัตรูพืชและการควบคุม
Plant Insect Pests and Their Controls
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารรับรอง
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
1. เป็นรายวิชาใน R หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 o หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ...............
2. ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต
3. ชื่อสาขาวิชา เกษตรศาสตร์
4. รหัสวิชา BSCAG111
5. ชื่อวิชาภาษาไทย แมลงศัตรูพืชและการควบคุม
6. ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ Plant Insect Pests and Their Controls
ลงชื่อ ....................................................... รองคณบดีฝ่ายวิชาการฯ
(ผศ.ดร. ปิยมาสฐ์ ตัณฑ์เจริญรัตน์ )
วันที่........ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
ลงชื่อ ....................................................... คณบดี
(รศ.ดร. สุนทร วิทยาคุณ)
วันที่........ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
|
หน้า
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ 3
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 4
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 7
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 12
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 13
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)
หมวดที่ 1
ข้อมูล ทั่วไป
1.รหัสและชื่อรายวิชา รหัสรายวิชา BSCAG111 ชื่อรายวิชาภาษาไทย แมลงศัตรูพืชและการควบคุม ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Plant Insect Pests and Their Controls |
2. จำนวนหน่วยกิต 2(1–3–3) |
3. หลักสูตร และประเภทของรายวิชา 3.1 หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เกษตรศาสตร์ 3.2 ประเภทกลุ่มวิชาชีพบังคับ |
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผศ. ดร. มาลี ตั้งระเบียบ ผศ. สุมาฬี พรหมรุกขชาติ |
5. ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 2 (ต่อเนื่อง) |
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) ไม่มี |
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) ไม่มี |
8. สถานที่เรียน อาคารสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ครั้งล่าสุด 23 ตุลาคม 2561
|
หมวดที่ 2
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับความสำคัญของแมลงศัตรูพืช กายวิภาคการเจริญเติบโตและการถอดรูปของแมลง การจำแนกอันดับของแมลงแมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจรวมทั้งหลักการควบคุม แมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ |
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
หมวดที่ 3
ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความสำคัญของแมลงศัตรูพืช กายวิภาคการเจริญเติบโตและการถอดรูปของแมลง การจำแนกอันดับของแมลงแมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจรวมทั้งหลักการควบคุม แมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ |
|||
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา |
|||
บรรยาย |
สอนเสริม |
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน |
การศึกษาด้วยตนเอง |
15 ชั่วโมง
|
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย |
45 ชั่วโมง |
การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ |
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของพื้นที่ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) |
หมวดที่ 4
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม |
|
|
1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.2 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
|
2. ความรู้ |
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของแมลงศัตรูพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร การแพร่ระบาด ลักษณะการเข้าทำลาย และการวินิจฉัย จากอาการที่ปรากฏ การคาดคะเนการระบาด การควบคุมศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ และสามารถนำความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดำรงชีพได้ 2.2 วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning |
3. ทักษะทางปัญญา |
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียนเพื่อพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ |
3.2 วิธีการสอน 3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาบนพื้นฐานการใช้นวัตกรรม และการนำเสนอผลงาน 3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีการนำเสนอที่เหมาะสม |
3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ |
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ |
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1.1 การมีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ |
4.2 วิธีการสอน 4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม 4.2.3 การนำเสนอรายงาน |
4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม |
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ |
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 5.1.1 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร 5.1.2 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม |
5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม |
5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี |
หมวดที่ 5
แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน (ภาคทฤษฎี) |
||||
สัปดาห์ที่ |
หัวข้อ/รายละเอียด |
จำนวน ชั่วโมง |
กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ |
ผู้สอน |
1 |
หน่วยเรียนที่ 1 บทนำ รายละเอียดเกี่ยวกับวิชาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสัตว์ในไฟลั่มอาร์โทโปด้าและความจำเป็นที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับแมลง |
1 |
บรรยาย ศึกษาจากวีดีทัศน์ และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
2 |
หน่วยเรียนที่ 2 สัณฐานวิทยาของแมลง 2.1 รูปร่างลักษณะภายนอกของแมลง |
1 |
บรรยายและอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
3 |
2.1 รูปร่างลักษณะภายนอกของแมลง (ต่อ) |
1 |
บรรยายและอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
4 |
2.2 รูปร่างลักษณะภายในของแมลง |
1 |
บรรยาย กรณีศึกษา และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
5 |
หน่วยเรียนที่ 3 การเจริญเติบโต พัฒนาการและ พฤติกรรมของแมลง |
1 |
บรรยาย กรณีศึกษา และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
6 |
หน่วยเรียนที่ 4 อนุกรมวิธานแมลง |
1 |
บรรยาย กรณีศึกษา และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
7 |
4.1 การจำแนกหมวดหมู่แมลง |
1 |
บรรยาย กรณีศึกษา และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
8 |
หน่วยเรียนที่ 5 แมลงศัตรูพืชสำคัญทางเศรษฐกิจ |
1 |
บรรยาย กรณีศึกษา และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
9 |
สอบกลางภาค |
3 |
|
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
10 |
หน่วยเรียนที่ 6 แมลงศัตรูธรรมชาติ และแมลงที่มีประโยชน์ |
1 |
บรรยาย กรณีศึกษา และอภิปราย |
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ |
|