รายละเอียด
คณิตศาสตร์พื้นฐานสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / Mathematical Foundations for Computer Engineering
- 17 สัปดาห์
- จำนวนนักศึกษา 1 คน
- อาจารย์ผู้สอน 1 คน
ข้อมูลรายวิชา
- รหัสรายวิชา : ENGCE102
- ชื่อรายวิชา(TH) : คณิตศาสตร์พื้นฐานสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- ชื่อรายวิชา (EN) : Mathematical Foundations for Computer Engineering
- เทอม / ปีการศึกษา : 2/2564
รายละเอียด
Microsoft Team Code: mshpaj2
วิธีเข้าร่วมห้องเรียนใน MS Team โดยใช้ team code
- Windows: ในโปรแกรม Teams ให้ไปที่เมนู Teams -> กด Join or create a team -> ในกล่อง Join a team with a code ให้กรอก code ของรายวิชาแล้วกด Enter
- Android: ในแอพ Teams ให้ไปที่แท็บ Teams -> กดปุ่ม ... ข้างบน (ข้างแว่นขยาย) -> เลือก Join a team with a code -> กรอก code ของรายวิชาแล้วกด Join
รายวิชา - คณิตศาสตร์พื้นฐานสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
1. ตรรกศาสตร์
1.1. ถ้อยแถลง
1.2. ภาคแสดงและตัวบอกปริมาณ
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ แสดงวิธีทำ ถาม-ตอบข้อสงสัย ทำแบบฝึกหัดและเฉลย
2. การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
2.1. การพิสูจน์ทางตรงและตัวอย่างแย้ง
2.2. การพิสูจน์ทางอ้อม
2.3. การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
2.4. การประยุกต์ใช้จากผลการพิสูจน์
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ แสดงวิธีทำ ถาม-ตอบข้อสงสัย ทำแบบฝึกหัดและเฉลย
3. เซต ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน
3.1. เซต
3.2. ฟังก์ชัน
3.3. ความสัมพันธ์
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ แสดงวิธีทำ ถาม-ตอบข้อสงสัย ทำแบบฝึกหัดและเฉลย
4. การนับ
4.1. กฎการคูณ
4.2. กฎการบวก
4.3. การจัดหมู่
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ แสดงวิธีทำ ถาม-ตอบข้อสงสัย ทำแบบฝึกหัดและเฉลย
5. อัลกอริทึม
5.1. การทำซ้ำ
5.2. กราฟ
5.3. ต้นไม้
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ แสดงวิธีทำ ถาม-ตอบข้อสงสัย ทำแบบฝึกหัดและเฉลย
พีชคณิตเชิงเส้น
บทที่ 1 ฐาน ปริภูมิเวกเตอร์
กิจกรรม :
บทที่ 2 การตั้งฉาก การเขียนสมการเชิงเส้นในรูปแบบเมทริกซ์
กิจกรรม :
สอบกลางภาค
กิจกรรม :
บทที่ 3 เมทริกซ์ผกผัน การแปลงเชิงเส้น
กิจกรรม :
บทที่ 4 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์
กิจกรรม :
ความน่าจะเป็นและสถิติ
บทที่ 1 ความน่าจะเป็นเบื้องต้น
- การทดลองแบบสุ่ม
- โมเดลทางคณิตศาสตร์
- เหตุการณ์ และปริภูมิตัวอย่าง
- การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
- ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข
- กฎการคูณ กฎผลรวมความน่าจะเป็น
- กฎของเบส์ และการประยุกต์ใช้
กิจกรรม :
บทที่ 2 ตัวแปรสุ่มวิยุต
- นิยามของตัวแปรสุ่ม
- ฟังก์ชันมวลความน่าจะเป็น
- ตัวแปรสุ่มแบร์นูลลี
- ตัวแปรสุ่มเรขาคณิต
- ตัวแปรสุ่มทวินาม
- ฟังก์ชันแจกแจงความน่าจะเป็นสะสม
กิจกรรม :
บทที่ 3 ตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง
- ฟังก์ชันความหนาแน่นความน่าจะเป็น
- ตัวแปรสุ่มเอกรูป
- ตัวแปรสุ่มเลขชี้กำลัง
- ตัวแปรสุ่มปกติ
กิจกรรม :
บทที่ 4 ค่าคาดหมาย ค่าความแปรปรวน
- ค่าเฉลี่ยทางสถิติของตัวแปรสุ่ม
- ค่าความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
- Central Limit Theorem
- Law of Large Numbers
การเขียนโปรแกรมเชิงสถิติ การ plot กราฟ
กิจกรรม :
บทที่ 5 การชักตัวอย่างตัวแปรสุ่ม
- การเขียนโปรแกรมเพื่อชักตัวอย่างตัวแปรสุ่ม ด้วยวิธี Inverse Transform หรือวิธี Accept-Reject
กิจกรรม :
สอบปลายภาค
กิจกรรม :
กิจกรรม :