รายละเอียด

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / Computer Programming

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGCC304
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Computer Programming
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2562

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

• แนะนำรายวิชา
• วิธีการศึกษา
• เอกสารตำราเรียนที่เกี่ยวข้อง
• การวัดผล
• การพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้คำแนะนำเพิ่มเติม
• นำสู่การเรียนรู้ประเด็น ความสำคัญของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

กิจกรรม : บรรยาย แนวการศึกษา
แนะนำรายวิชา

หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
1.1 ลักษณะของคอมพิวเตอร์
1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์
1.1.2 ลักษณะที่สำคัญของคอมพิวเตอร์
1.2 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
1.2.1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
1.2.2 ยุคของคอมพิวเตอร์
1.3 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.3.1 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
1.3.2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
1.3.3 บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1.3.4 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
1.4 ภาษาคอมพิวเตอร์
1.4.1 การจำแนกภาษาคอมพิวเตอร์
1.4.2 ลักษณะของภาษาคอมพิวเตอร์

กิจกรรม : - บรรยาย
- อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- ทำกิจกรรมกลุ่มและนำเสนอผลงาน

หน่วยที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม
2.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม
2.1.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม
2.1.2 การออกแบบโปรแกรม
2.2 หลักการเขียนโปรแกรม
2.2.1 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมโดยวิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ Problem Solving
2.2.2 การเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์
2.2.3 ตัวอย่างการเขียนคำสั่งด้วยภาษาชั้นสูง
หน่วยที่ 3 การใช้ภาษาวิชวลเบสิกในการพัฒนาโปรแกรม

กิจกรรม : - บรรยาย
- อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- ทำแบบฝึกหัด

หน่วยที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
2.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม
2.1.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม
2.1.2 การออกแบบโปรแกรม
2.2 หลักการเขียนโปรแกรม
2.2.1 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมโดยวิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ Problem Solving
2.2.2 การเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์
2.2.3 ตัวอย่างการเขียนคำสั่งด้วยภาษาชั้นสูง
หน่วยที่ 3 การใช้ภาษาวิชวลเบสิกในการพัฒนาโปรแกรม

กิจกรรม : - บรรยาย
- อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- ทำแบบฝึกหัด

หน่วยที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
2.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม
2.1.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม
2.1.2 การออกแบบโปรแกรม
2.2 หลักการเขียนโปรแกรม
2.2.1 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมโดยวิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ Problem Solving
2.2.2 การเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์
2.2.3 ตัวอย่างการเขียนคำสั่งด้วยภาษาชั้นสูง
หน่วยที่ 3 การใช้ภาษาวิชวลเบสิกในการพัฒนาโปรแกรม

กิจกรรม : - บรรยาย
- อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- ทำแบบฝึกหัด

3.1 พื้นฐานภาษาวิชวลเบสิก
3.1.1 ลักษณะทั่วไปของภาษาวิชวลเบสิก
3.1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับโปรแกรมภาษาวิชวลเบสิก
3.2 ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาวิชวลเบสิก
3.2.1 การเรียนใช้โปรแกรมภาษาวิชวลเบสิก
3.2.2 ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาวิชวลเบสิก
3.3 แนววิธีการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษวิชวลเบสิก
3.3.1 แนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาวิชวลเบสิก
3.3.2 การเปิดโปรแกรมภาษาวิชวลเบสิกเพื่อพัฒนาโปรแกรม
3.3.3 พัฒนาโปรแกรมด้วยคอนโทรล
3.3.4 ข้อพิจารณาในการใช้คอนโทรล
3.3.5 การกำหนดคุณสมบัติให้คอนโทรล
3.3.6 การเขียนโค้ดหรือซอสโค้ดให้โปรแกรมทำงาน
3.3.7 การบันทึกโปรแกรม

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

หน่วยที่ 4 การสร้างตัวประสานกับผู้ใช้แบบกราฟิก
4.1 การสร้างตัวประสานกับผู้ใช้
4.1.1 ความสำคัญของการสร้างตัวประสานกับผู้ใช้
4.1.2 เครื่องมือที่ใช้สร้างตัวประสานกับผู้ใช้
4.2 การใช้งานและการเขียนโค้ดของโปรแกรมเกี่ยวกับฟอร์ม
4.2.1 ส่วนประกบอบของฟอร์ม
4.2.2 คุณสมบัติของฟอร์ม

4.2.3 เหตุการณ์ของฟอร์ม
4.2.4 วิธีการของฟอร์ม
4.2.4 วิธีการของฟอร์ม
4.3 การใช้คอนโทรล
4.3.1 ชุดคอนโทรลมาตรฐานของวิชวลเบสิก
4.3.2 เลเบล
4.3.3 เท็กซ์บ็อก
4.3.4 ปุ่มคอมมานต์
4.3.5 ปุ่มออกชัน
4.3.6 เฟรม
4.3.7 เช็คบ็อก
4.3.8 ลิสบ็อก
4.3.9 คอมโบบ็อก
4.3.10 แถบเลื่อนแนวนอนแถบเลื่อนแถวตั้ง
4.3.11 ไดร์ฟลิสท์บ็อก ไดเรกเทอรี่ลิสท์บ็อกไฟล์บิสท์บ็อก
4.3.12 อิมเมจ(Image)พิคเจอร์บ็อก(PictureBox)
4.3.13 เส้นและรูปทรง
4.3.14 ไทมเมอร์(Timer)
4.3.15 โอเล(OLE)
4.3.16 การจัดลำดับคอนโทรลด้วย Tab Order
4.3.17 อาร์เรย์ของคอนโทรล
4.3.18 โฟกัส
4.3.19 คุณสมบัติอื่นที่ใช้เพิ่มเติม

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

- ทบทวน
- การส่งงานกรณีงานค้าง
กิจกรรม :

สอบกลางภาคเรียนที่ 1/2562
กิจกรรม :

หน่วยที่ 5 การเขียนชุดคำสั่งหรือโค้ดด้วยภาษาวิชวลเบสิก
5.1 ตัวแปรค่าคงที่และชนิดของข้อมูล
5.1.1 ความสำคัญของตัวแปรค่าคงที่และชนิดของข้อมูล
5.1.2 ตัวแปร
5.1.3 ชนิดของการประกาศตัวแปร
5.1.4 กฎการตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่
5.1.5 ชนิดของข้อมูล
5.1.6 รายละเอียดการกำหนดตัวแปรตามชนิดของข้อมูล
5.1.7 ขอบเขตของตัวแปร
5.1.8 การใช้งานตัวแปรร่วมระดับโพรซีเดอร์
5.1.9 การตั้งชื่อตัวแปรแบบบอกชนิดและขอบเขตของตัวแปร
5.1.10 ตัวแปรอาร์เรย์
5.1.12 ค่าคงที่
5.1.13 ตัวดำเนินการ

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

หน่วยที่ 5 การเขียนชุดคำสั่งหรือโค้ดด้วยภาษาวิชวลเบสิก(ต่อ)
5.2 การใช้งานคำสั่งและฟังก์ชันมาตรฐาน
5.2.1 ความหมายของคำสั่งและฟังก์ชัน
5.2.2 คำสั่งที่เกี่ยวกับการสร้างเงื่อนไข
5.2.3 ฟังก์ชันที่สำคัญในวิชวลเบสิก
5.2.4 กลุ่มคำสั่งและฟังก์ชันที่เกี่ยวกับอาร์เรย์
5.2.5 กลุ่มฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรแวเรียนต์
5.2.6 กลุ่มฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับการแปลงชนิดของข้อมูล
5.2.7 กลุ่มฟังก์ชันสำหรับสร้างกรอบโต้ตอบผู้ใช้
5.2.8 กลุ่มฟังก์ชันและคำสั่งอื่นที่มีประโยชน์ต่อการเขียนโปรแกรม
5.2.9 การสร้างโพรซีเดอร์ทั่วไป

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

หน่วยที่ 6 การสร้างชุดติดตั้งโปรแกรมและการพัฒนาโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้งาน
6.1 การสร้างชุดติดตั้งโปรแกรม
6.1.1 ขั้นตอนการสร้างชุดติดตั้งโปรแกรม
6.1.2 การทำชุดติดตั้งโปรแกรมไปใช้งาน
6.2 ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้งาน
6.2.1 การประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรม
6.2.2 การประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมอัตโนมัติ

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

หน่วยที่ 6 การสร้างชุดติดตั้งโปรแกรมและการพัฒนาโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้งาน(ต่อ)
6.1 การสร้างชุดติดตั้งโปรแกรม
6.1.1 ขั้นตอนการสร้างชุดติดตั้งโปรแกรม
6.1.2 การทำชุดติดตั้งโปรแกรมไปใช้งาน
6.2 ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้งาน
6.2.1 การประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรม
6.2.2 การประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมอัตโนมัติ

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

หน่วยที่ 6 การสร้างชุดติดตั้งโปรแกรมและการพัฒนาโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้งาน(ต่อ)
6.1 การสร้างชุดติดตั้งโปรแกรม
6.1.1 ขั้นตอนการสร้างชุดติดตั้งโปรแกรม
6.1.2 การทำชุดติดตั้งโปรแกรมไปใช้งาน
6.2 ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมเพื่อประยุกต์ใช้งาน
6.2.1 การประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรม
6.2.2 การประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมอัตโนมัติ

กิจกรรม : - อาจารย์ผู้สอนแนะนำ
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติ

นำเสนอโครงงานการประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมอัตโนมัติ
กิจกรรม : นำเสนอโครงงานการประยุกต์งานทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมอัตโนมัติ

- ทบทวน
- การส่งงานกรณีงานค้าง
กิจกรรม : - ทบทวน
- สอนซ่อมเสริมในกรณีที่นักศึกษาต้องการ

สอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน