รายละเอียด

วัสดุวิศวกรรม / Engineering Materials

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGCC303
  • ชื่อรายวิชา(TH) : วัสดุวิศวกรรม
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Engineering Materials
  • เทอม / ปีการศึกษา : 3/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - วัสดุวิศวกรรม

แนะนำเนื้อหาการสอน ข้อตกลงในการเรียน การประเมินผล
บทที่ 1 พัฒนาการด้านการใช้วัสดุ
1.1 วัสดุและวัสดุวิศวกรรม
1.2 วัสดุศาสตร์และวัสดุวิศวกรรม
1.3 ประเภทของวัสดุ
1.4 การแข่งขันกันระหว่างวัสดุประเภทต่าง ๆ
1.5 ความก้าวหน้าใหม่ ๆ ในวัสดุศาสตร์
1.6 การออกแบบและการเลือกใช้วัสดุ

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 2 โครงสร้างอะตอมและโครงสร้างผลึก
2.1 โครงสร้างอะตอม
2.2 ชนิดของพันธะอะตอมและพันธะโมเลกุล
2.3 พันธะไอออนิก
2.4 พันธะโควาเลนซ์
2.5 พันธะโลหะ
2.6 พันธะทุติยภูมิ

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 2 โครงสร้างอะตอมและโครงสร้างผลึก (ต่อ)
2.7 การแข็งตัวของโลหะ
2.8 โครงสร้างผลึกของโลหะ
2.9 ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
2.10 การผลิตวัสดุผลึกเดี่ยว
2.11 สารละลายของแข็งโลหะ
กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 3 วัสดุโลหะ
3.1. การจำแนกกลุ่มของโลหะ
3.2. การผลิตเหล็ก
3.3. เหล็กกล้าคาร์บอน


กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 3 วัสดุโลหะ (ต่อ)
3.4. เหล็กไร้สนิม
3.5. เหล็กเครื่องมือ


กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 3 วัสดุโลหะ (ต่อ)
3.6. เหล็กหล่อ
3.7. โลหะนอกกลุ่มเหล็ก

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 4 คุณสมบัติทางกลของโลหะ
4.1. ความเค้นและความเครียดของโลหะ
4.2. การทดสอบแรงดึง
4.3. การทดสอบความแข็ง
4.4. การเปลี่ยนรูปอย่างถาวรของโลหะผลึกเดี่ยว
4.5. การเปลี่ยนรูปอย่างถาวรของโลหะหลายผลึก

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 4 คุณสมบัติทางกลของโลหะ (ต่อ)
4.6. การคืนตัวและการตกผลึกใหม่
4.7. โลหะผลึกนาโน
4.8. การเกิดรอยแตกในโลหะ
4.9. ความล้าของโลหะ
4.10. อัตราทวีรอยแตกร้าว
4.11. การครีพและความเค้นแตกหักของโลหะ

กิจกรรม : บรรยาย

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 5 สมดุลเฟส
5.1 เฟส สมดุลของเฟสและแผนภูมิสมดุลเฟส
5.2 ระบบเนื้อเดียวสององค์ประกอบ
5.3 โครงสร้างโลหะผสมเนื้อเดียวที่ผ่านการเย็นตัวแบบสมดุล
5.4 ระบบยูเทกติกสององค์ประกอบ
5.5 โครงสร้างจุลภาคโลหะผสมยูเทคติก

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 5 สมดุลเฟส (ต่อ)
5.6 แผนภูมิที่มีสารประกอบหรือเฟสระหว่างกลาง
5.7 ปฏิกริยายูเทกตอยด์และเพอริเทกติก
5.8 แผนภูมิเฟสเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์
5.9 โครงสร้างจุลภาคของโลหะผสมเหล็ก-คาร์บอน
5.10 การปรับปรุงคุณสมบัติด้วยความร้อน

กิจกรรม : บรรยาย

นำเสนอรายงาน
บทที่ 6 พอลิเมอร์
6.1 ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
6.2 การทำให้เกิดพอลิเมอไรเซชันในทางอุตสาหกรรม
6.3 การเกิดผลึกและสเตอริโอไอโซเมอร์ในเทอร์โมพลาสติกบางชนิด
6.4 กระบวนการผลิตวัสดุพลาสติก

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 6 พอลิเมอร์ (ต่อ)
6.5 สมบัติพื้นฐานและการเลือกใช้ประโยชน์ทั่วไปของเทอร์โมพลาสติก
6.6 เทอร์โมพลาสติกวิศวกรรม
6.7 เทอร์โมเซตติ้งพลาสติก
6.8 อีลาสโตเมอร์
6.9 การเปลี่ยนรูปและการเพิ่มความแข็งแรงของพลาสติก

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 7 เซรามิก
7.1 โครงผลึกอย่างธรรมดาของเซรามิก
7.2 โครงสร้างซิลิเกต
7.3 กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก
7.4 วัสดุเซรามิกธรรมดาและวัสดุเซรามิกวิศวกรรม
7.5 สมบัติทางกลของเซรามิก

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 7 เซรามิก (ต่อ)
7.6 สมบัติทางความร้อนของเซรามิก
7.7 แก้ว
7.8 การฉาบเซรามิก
7.9 วัสดุเซรามิกในการประยุกต์ใช้ในงานชีวเวช
7.10 นาโนเทคโนโลยีและเซรามิก


กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 8 วัสดุผสม
8.1 วัสดุที่เป็นพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย
8.2 วัสดุผสมพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย
8.3 คอนกรีต
8.4 ยางมะตอยและยางมะตอยผสม
8.5 ไม้
8.6 โครงสร้างแบบแซนวิช
8.7 เป็นโลหะเมทริกซ์และเซรามิกเมทริกซ์วัสดุผสม

กิจกรรม : บรรยาย

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน