รายละเอียด

วิศวกรรมเครื่องมือ / Tools Engineering

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGIE201
  • ชื่อรายวิชา(TH) : วิศวกรรมเครื่องมือ
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Tools Engineering
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - วิศวกรรมเครื่องมือ

แนะนำบทเรียน และทำความตกลงในการเรียน
บทที่ 1 หลักพื้นฐานของวิศวกรรมเครื่องมือ
- แบบวิศวกรรม
- การบอกค่าความคลาดเคลื่อนในแบบวิศวกรรม
- ความสามารถของกระบวนการผลิต
- ความคลาดเคลื่อนเรขาคณิต
- รูปลักษณ์เดตัม
- ภาวะวัสดุสูงสุด
- รูปลักษณ์จินตภาพ

กิจกรรม : บรรยาย

บทที่ 1 หลักพื้นฐานของวิศวกรรมเครื่องมือ (ต่อ)
- ระบบความฟิตและขอบเขตของขนาด
- ความคลาดเคลื่อนสะสม
- ความคลาดเคลื่อนสะสมในชุดงานประกอบ
- การผลิตแบบเลือกประกอบ
- การวางแผนกระบวนการผลิต
- แผนภูมิความคลาดเคลื่อน
- กราฟต้นไม้กับแผนภูมิความคลาดเคลื่อน

กิจกรรม :

บทที่ 2 ประเภทของจิ๊กและฟิกซ์เจอร์
- ความแตกต่างของจิ๊กและฟิกซ์เจอร์
- ชนิดของจิ๊ก
- ชนิดของฟิกซ์เจอร์


กิจกรรม :

บทที่ 3 การรองรับและการบังคับตำแหน่งชิ้นงาน
- หลักการกำหนดตำแหน่ง
- ทฤษฎีความสมดุลของแรงและโมเมนต์
- การบังคับด้วยรูปทรง
- การบังคับด้วยมิติ
- การใช้วีบล็อกกำหนดตำแหน่งชิ้นงาน
- ความบกพร่องของผิวงาน
- การบังคับด้วยแรง
- การใช้แรงต้านแรงตัดโลหะ
- การใช้แรงยึดชิ้นงาน
- การใช้ตัวกำหนดตำแหน่งสลับ
- การใช้รังกำหนดตำแหน่งชิ้นงาน


กิจกรรม :

บทที่ 4 กระบวนการออกแบบอุปกรณ์ยึดชิ้นงาน
- กฎพื้นฐานในการบีบจับชิ้นงาน
- ชนิดของแคล้มป์
- NONMECHANICAL CLAMPING


กิจกรรม :

บทที่ 5 การออกแบบจิ๊กสำหรับเจาะรู
- เทมเพลตสำหรับเจาะรูในแผ่นงานกลม
- เทมเพลตจิ๊กและการใช้รังบังคับชิ้นงาน
- การออกแบบเพลตจิ๊ก
- การใช้วีบล็อกกำหนดตำแหน่งชิ้นงานในจิ๊ก
- การออกแบบจิ๊กที่ใช้วีบล็อกและลูกเบี้ยว
- การออกแบบอินเด็กซิ่งจิ๊ก

กิจกรรม :

บทที่ 6 การออกแบบฟิกซ์เจอร์สำหรับงานกัด
- ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการออกแบบฟิกซ์เจอร์
- การออกแบบฟิกซ์เจอร์สำหรับตัดร่องคู่
- การออกแบบฟิกซ์เจอร์ใช้คัตเตอร์คู่ตัดผิวระนาบ

กิจกรรม :

บทที่ 6 การออกแบบฟิกซ์เจอร์สำหรับงานกัด (ต่อ)
- การออกแบบฟิกซ์เจอร์ยึดชิ้นงานหลายชิ้น
- การออกแบบอินเด็กซิ่งฟิกซ์เจอร์

กิจกรรม :

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 7 แม่พิมพ์ตัดโลหะแผ่น
- เครื่องจักรทำแม่พิมพ์โลหะ
- ชุดแม่พิมพ์
- ทฤษฎีของการตัด
- ระยะเผื่อของแม่พิมพ์ตัวบนและตัวล่าง
- การร่างแบบบนแผ่นเหล็ก
- ชนิดของแม่พิมพ์
- แม่พิมพ์ตัวบน
- ชุดแม่พิมพ์ล่าง
- อุปกรณ์นำร่อง
- ตัวปลดชิ้นงาน
- แผ่นป้องกันชิ้นงานตัด
- ตัวกันชิ้นงาน

กิจกรรม :

บทที่ 7 แม่พิมพ์ตัดโลหะแผ่น (ต่อ)
- การออกแบบแม่พิมพ์
- แม่พิมพ์ดัดขึ้นรูป
- ทฤษฎีการไหลตัวของโลหะ
- การขยายตัวของความยาว
- แรงในการตัด
- ประเภทของการดัด
- แม่พิมพ์ขึ้นรูปโลหะ
- การขึ้นรูปโลหะ

กิจกรรม :

บทที่ 8 แม่พิมพ์ขึ้นรูปแบบทำงานต่อเนื่อง
- ทฤษฎีของการขึ้นรูป
- การกำหนดขนาดแผ่นชิ้นงาน
- รัศมีและระยะเผื่อในการกดขึ้นรูป
- แรงในการขึ้นรูป
- ชนิดของแม่พิมพ์ขึ้นรูป
- ข้อบกพร่องของชิ้นงานกดขึ้นรูป

กิจกรรม :

บทที่ 8 แม่พิมพ์ขึ้นรูปแบบทำงานต่อเนื่อง (ต่อ)
- แม่พิมพ์ทำงานต่อเนื่อง
- ข้อพิจารณาในการออกแบบแม่พิมพ์ทำงานต่อเนื่อง
- ขั้นตอนการออกแบบแม่พิมพ์ต่อเนื่อง

กิจกรรม :

บทที่ 9 การออกแบบลูกเบี้ยวและลิ่ม
- ชนิดของลูกบี้ยว
- การออกแบบลูกเบี้ยว
- การออกแบบลิ่ม

กิจกรรม :

บทที่ 10 การออกแบบ Toggle Clamp
- ชนิดของ Toggle Clamp
- กลไกการทำงาน
- การออกแบบ Toggle Clamp

กิจกรรม :

- นักศึกษานำเสนอผลงาน
กิจกรรม :

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน