รายละเอียด

จิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิตและการทำงาน Section 2 / Psychology for Living and Work

  • 18 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : GEBSO106
  • ชื่อรายวิชา(TH) : จิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิตและการทำงาน Section 2
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Psychology for Living and Work
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

    ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิต การจัดการอารมณ์ ความเครียดและสุขภาพจิต การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง แรงจูงใจในการเรียนรู้และการทำงาน สัมพันธภาพในการทำงาน การบริหารความขัดแย้ง ตลอดจนการปรับตัวในสังคมและการทำงาน เพื่อที่จะสามารถใช้ชีวิตในสังคมและการประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข

    Study basic knowledge in Psychology for living; emotional management; stress and mental health; self-understanding and self-esteem, motivation to learn and work; human relation in the workplace; conflict management, and adjustment to work and live in a society happily

ช่องทางติดต่ออาจารย์ผู้สอน

เบอร์โทรศัพท์ : 081-9600562

Line ID : thany_b

Email : thanyalak_b@rmutl.ac.th

รายวิชา - จิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิตและการทำงาน Section 2

บทนำ

1. แนะนำการเรียนการสอน

    1.1 กำหนดเป้าหมายของการเรียนรู้

    1.2 วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้

2. การประเมินผล

    2.1 ชี้แจงการวัดผลและประเมินผล

    2.2 วัดความรู้ก่อนเรียน 

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาและพฤติกรรมมนุษย์

   1.1 ความหมายและความสำคัญของจิตวิทยา

   1.2 ประวัติความเป็นมาและขอบเขตของจิตวิทยา

   1.3 กลุ่มแนวคิดและวิธีการศึกษาทางจิตวิทยา

   1.4 พฤติกรรมมนุษย์

2 การจัดการอารมณ์ ความเครียด และสุขภาพจิต

   2.1 อารมณ์

2 การจัดการอารมณ์ ความเครียด และสุขภาพจิต (ต่อ)

   2.2 ความเครียด

2 การจัดการอารมณ์ ความเครียด และสุขภาพจิต (ต่อ)

   2.3 สุขภาพจิต

3. การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตนเอง

    3.1 การเห็นคุณค่าในตนเอง

    3.2 ความเมตตากรุณาต่อตนเอง

4. แรงจูงใจในการเรียนรู้และการทำงาน

    4.1 ความหมายและความสำคัญของแรงจูงใจ

    4.2 ทฤษฎีการจูงใจ

    4.3 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการจูงใจ

5. การสร้างสัมพันธภาพในการทำงาน

   5.1 ความหมายและความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์

   5.2 องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์

   5.3 ปัจจัยที่เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์

สอบกลางภาค

5. การสร้างสัมพันธภาพในการทำงาน

   5.4 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์

   5.5 แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน

6. การบริหารความขัดแย้ง

   6.1 ความหมายของความขัดแย้ง 

   6.2 สาเหตุและผลของความขัดแย้ง

6. การบริหารความขัดแย้ง

   6.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้ง

   6.4 แนวทางแก้ไขความขัดแย้งในการทำงาน

7. การปรับตัวในสังคมและการทำงาน

   7.1 ความหมายของการปรับตัว

   7.2 สาเหตุของการปรับตัว

7. การปรับตัวในสังคมและการทำงาน

   7.3 กลวิธานในการป้องกันตนเอง

8. การปรับปรุงบุคลิกภาพในการทำงาน 

   8.1 ความหมายและปัจจัยที่ส่งผลต่อบุคลิกภาพ

   8.2 ทฤษฎีบุคลิกภาพ

8. การปรับปรุงบุคลิกภาพในการทำงาน   

   8.3 การวัดบุคลิกภาพ

   8.4 แนวทางในการปรับปรุงบุคลิกภาพในการทำงาน

ทบทวนความรู้

สอบปลายภาค

อาจารย์ผู้สอน