รายละเอียด

ชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม / Biology for Environmental Engineers

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGEV103
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Biology for Environmental Engineers
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

วิชาชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม 1/2563 สอนออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft Teams App

ช่องทางการสื่อสาร
e-mail: rungnapha@rmutl.ac.th
โทร: 062-429-8145

รายวิชา - ชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม

- แนะนำรายวิชา และโครงสร้างเนื้อหาของรายวิชา - อธิบายวิธีการสอน วิธีการวัดผล ประเมินผลและอื่นๆ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ชีววิทยาพื้นฐานสา หรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม 1.2 จุลชีววิทยาประยุกต์สาหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม 1.3 จุลินทรีย์ที่มีบทบาทสำคัญสำหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม บทนำชีววิทยาสาหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม ภาคปฏิบัติ
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 1

- แนะนำห้องปฏิบัติการและบอกสาระสำคัญขอภาคปฏิบัติการของวิชาชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม

บทที่ 2 จุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม
2.1 ธรรมชาติของชีววิทยาของเซล
2.2 การจำแนกกลุ่ม และชื่อทางวิทยาศาสตร์ของจุลินทรีย์
2.3 จุลินทรีย์ในกลุ่มเซลโปรคาริโอต

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม อุปกรณ์และเทคนิคที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 2

- ฝึกปฏิบัติการเทคนิคปราศจากเชื้อ และเรียนรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ

2.4 จุลินทรีย์ในกลุ่มเซลยูคาริโอต
2.5 จุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม อาหารเลี้ยงเชื้อ
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 2

- ฝึกปฏิบัติการเทคนิคปราศจากเชื้อ และเรียนรู้การใช้อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ

2.6 ความต้องการสารอาหาร และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่มีผลต่อจุลินทรีย์
2.7 การเจริญเติบโตของแบคทีเรีย

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์จุลชีววิทยาพื้นฐาน : กล้องจุลทรรศน์และวิธีใช้
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 2

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 1 : กล้องจุลทรรศน์และวิธีใช้

บทที่ 3 สารอินทรีย์และเมตาบอลิซึมของเซลมีชีวิต
3.1 สารอินทรีย์
3.2 เอนไซม์

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์จุลชีววิทยาพื้นฐาน :โครงสร้างของเซล และออร์กาเนล
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 3

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 2 : ชนิดของเซลกลุ่มหลักของจุลินทรีย์

3.3 เมตาบอลิซึมของเซลมีชีวิต

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์จุลชีววิทยาพื้นฐาน : เทคนิคการย้อมสีแบคทีเรียและการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 3

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 3 : การย้อมสีแบคทีเรีย
- ฝึกบทปฏิบัติการที่ 4 : อาหารเลี้ยงเชื้อและการกำจัดเชื้อ

บทที่ 4 นิเวศวิทยาพื้นฐาน
4.1 ความสำคัญของนิเวศวิทยาและขอบเขตของนิเวศวิทยา
4.2 ประชากรและสังคมที่มีชีวิตในระบบนิเวศ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์จุลชีววิทยาพื้นฐาน : การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์และเทคนิคการแยกเชื้อ บริสุทธิ์
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 4

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 5 : การแพร่กระจายของจุลินทรีย์
- ฝึกบทปฏิบัติการที่ 6 : เทคนิคการแยกเชื้อบริสุทธิ์ของแบคทีเรีย

4.3 ระบบนิเวศ
4.4 สิ่งแวดล้อมและความสามารถในการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์จุลชีววิทยาพื้นฐาน : การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์และเทคนิคการแยกเชื้อ บริสุทธิ์
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 4

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 5 : การแพร่กระจายของจุลินทรีย์
- ฝึกบทปฏิบัติการที่ 6 : เทคนิคการแยกเชื้อบริสุทธิ์ของแบคทีเรีย
- สอบปฏิบัติการ กลางภาค

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 5 การบำบัดน้ำ
5.1 หน่วยปฏิบัติการและหน่วยกระบวนการบำบัดน้ำที่ใช้ควบคุมคุณภาพน้ำ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์น้ำและน้ำเสียทางแบคทีเรีย : การนับจำนวนจุลินทรีย์
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 5

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 7 : การนับจำนวนจุลินทรีย์

5.2 น้ำดื่มน้ำใช้ 5.3 กระบวนการบำบัดน้ำ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์น้ำและน้ำเสียทางแบคทีเรีย : วิธี MPN Test

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 5

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 8 : โคลิฟอร์มทั้งหมด

5.4 จุลินทรีย์บ่งชี้
5.5 ระบบการส่งจ่ายน้ำ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์น้ำและน้ำเสียทางแบคทีเรีย : วิธี MPN Test
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 5

- ฝึกบทปฏิบัติการที่ 9 : ฟีคัลโคลิฟอร์ม

บทที่ 6 การบำบัดและการกำจัดน้ำเสีย
6.1 น้ำเสีย
6.2 มลพิษน้ำ

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม วิธีวิเคราะห์น้ำและน้ำเสียทางแบคทีเรีย : วิธี MF Method
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 6

- ฝึกปฏิบัติการบทปฏิบัติการที่ 10 : โคลิฟอร์มทั้งหมด และฟีคัลโคลิฟอร์ม

6.3 หลักวิธีการบำบัดน้ำเสีย
6.4 การบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยา

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ทางแบคทีเรียในน้ำตัวอย่างชนิดต่างๆ เช่น น้ำก๊อก น้ำในสระ น้ำดื่ม เป็นต้น
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 6

- ฝึกปฏิบัติการกลุ่ม:วิเคราะห์น้ำตัวอย่างตามที่ได้รับมอบหมาย

6.5 การเปลี่ยนแปลงประชากรในระบบบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยา

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ทางแบคทีเรียในน้ำตัวอย่างชนิดต่างๆ เช่น น้ำก๊อก น้ำในสระ น้ำดื่ม เป็นต้น
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 6

- ฝึกปฏิบัติการกลุ่ม:วิเคราะห์น้ำตัวอย่างตามที่ได้รับมอบหมาย

บทที่ 7 การบำบัดและการกำจัดกากของเสีย
7.1 กระบวนการจัดการสลัดจ์
7.2 กระบวนการหมักปุ๋ย

- ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิศวกรสิ่งแวดล้อม นักศึกษารวบรวมผลการทดลองกลุ่ม เพื่อจัดทำรายงานและเตรียมนำเสนอผลงานกลุ่ม
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- สื่อ Powerpoint บทที่ 7

- นักศึกษานำเสนอผลงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน ซักถามและอภิปรายผลการทดลอง

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน