รายละเอียด

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต / Sufficiency Economy and Wisdom of Living

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 2 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : GEBSO101
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Sufficiency Economy and Wisdom of Living
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2566

รายละเอียด

อาจารย์ต่อศักดิ์ โกษาวัง (อ.บาส)  เบอร์ติดต่อ 088-2692926  Email: Torsak.work@gmail.com

 

รายวิชา - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต

- แนะนํารายวิชา และแนะนําอาจารย์ผู้สอน
- แนะนําวิธีการเรียนการสอน
สู่ศตวรรษที่ 21
- กําหนดเป้าหมายการเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้/ความสําคัญของวิชา
- ชี้แจงการวัดประเมินผล
- กิจกรรมการเรียนการสอน
- ทดสอบทุนความรู้เดิมของนักศึกษา
- ชี้แจงและมอบหมายงานให้รับผิดชอบ

กิจกรรม : - ทําความรู้จัก แนะนําชื่อ ในห้องเรียน
- ซักถามความคาดหวัง
- มอบหมายงานสมุดบันทึกบัญชีรายรับ รายจ่าย
(บัญชีครัวเรือน)
- แจกแผนการเรียน

หน่วยที่ 1 ศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและการประยุกต์ใช้
1.1 การเปลี่ยนแปลงก่อนการใช้แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1.2 การพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ฉบับที่ 1-12)
1.3 ความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย วิเคราะห์พัฒนาการ ด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมไทยปัจจุบัน โดยจัดทําเป็น mind mapping

หน่วยที่ 1 ศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและการประยุกต์ใช้ (ต่อ)
1.4 ความหมายและองค์ประกอบของเศรษฐกิจพอเพียง
1.5 ความหมายของการประยุกต์ใช้
1.5.1 การประยุกต์ใช้ภาคชุมชน ภาคเกษตร
1.5.2 การประยุกต์ใช้ภาครัฐ เอกชน การศึกษา

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปรายกลุ่ม
-ค้นคว้า
-นําเสนอ
-วิเคราะห์/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ ตัวอย่าง ของการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงโดยจัดทําเป็น mind mapping

หน่วยที่ 1 ศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและการประยุกต์ใช้ (ต่อ)
1.5.3 การประยุกต์ใช้ภาคประชาชน

กิจกรรม : ลงฝึกปฏิบัติ การทําหลุมพอเพียง

หน่วยที่ 2 หลักการทรงงาน
2.1 เป้าหมายของการทรงงาน
2.2 หลักการทรงงาน
2.3 การนําหลักการทรงงานมาใช้ในการพัฒนาประเทศ

กิจกรรม : - บรรยาย/ร่วมอภิปราย/การนําหลักการ ทรงงานมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน โดยจัดทําเป็น mind mapping

หน่วยที่ 3 โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ
3.1 ความเป็นมาของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ
3.2 ลักษณะของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ
3.3 หลักการสําคัญของโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/กิจกรรมการค้นหา ตัวอย่างของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ โดยจัดทําเป็น mind mapping

หน่วยที่ 4 การพัฒนาที่ยั่งยืนและ
ธรรมาภิบาล
4.1. ความเป็นมาของธรรมาภิบาล
4.2. ความหมายของธรรมาภิบาล
4.3. หลักการพื้นฐานของธรรมาภิบาล
4.4 ดัชนีชีวัดธรรมาภิบาล

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/กิจกรรมค้นหาปัญหาและใช้หลักธรรมาภิบาลในการแก้ไข

หน่วยที่ 5 ภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิต
5.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิปัญญา
5.2 ภูมิปัญญาไทยด้านต่าง ๆ
5.3 ข้อจํากัดของภูมิปัญญาไทย
5.4 ภูมิปัญญากับเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/แสดงความคิดเห็น โดยวิเคราะห์กรณีศึกษาจากงานวิจัยชุมชน

สอบกลางภาคเรียน
กิจกรรม :

หน่วยที่ 5 ภูมิปัญญาการคิดและการบริหารจัดการชีวิต (ต่อ)
5.5 การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญากับการคิดแก้ไขปัญหา
5.6 การบริหารจัดการชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญา

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/นําเสนอตัวอย่าง ภูมิปัญญา 4 ด้าน ในชุมชนตัวอย่าง และ เสนอแนะและแสดงความคิดเห็น

หน่วยที่ 6 การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลาย
6.1 ความหมาย
6.2 การบูรณาการวัฒนธรรม
6.3 การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย วิเคราะห์วัฒนธรรมที่หลากหลาย โดยจัดทําเป็น mind mapping

หน่วยที่ 6 การบูรณาการวัฒนธรรมที่ หลากหลาย (ต่อ)
6.4 วัฒนธรรมที่หลากหลายในการดําเนินชีวิต
6.5 การบูรณาการวัฒนธรรม

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/นําเสนอตัวอย่าง จากคลิป วีดีโอ และวิเคราะห์ นําเสนอ หน้าชั้นเรียน

หน่วยที่ 7 จิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม
7.1 พื้นฐานของจิตสาธารณะในสังคม
7.2 การอนุรักษ์รักษาสิ่งแวดล้อมโดยการ ประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/นําเสนอตัวอย่าง จากคลิป วีดีโอ และวิเคราะห์ นําเสนอ หน้าชั้นเรียน

หน่วยที่ 7 จิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม
7.3 ปัจจัยสู่ความสําเร็จในการพัฒนา
7.4 ปัญหาอุปสรรค

กิจกรรม : บรรยาย/ร่วมอภิปราย/นําเสนอตัวอย่าง จากคลิป วีดีโอ และวิเคราะห์ นําเสนอ หน้าชั้นเรียน

หน่วยที่ 8 การอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง
8.1 การปฏิบัติตนในสังคม
8.2 การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
8.3 ความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรม
8.4 ความสุขด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม : กิจกรรม ลงพื้นที่ศึกษาดูงานในชุมชนที่ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง และ วิเคราะห์ชุมชนร่วมกับประชาชนในชุมชนเป้าหมาย

หน่วยที่ 8 การอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ)
8.1 การปฏิบัติตนในสังคม
8.2 การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
8.3 ความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรม
8.4 ความสุขด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม : นําเสนอนิทรรศการ/นําเสนอชุมชน ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ปัจจัย ความสําเร็จที่มีผลต่อหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

สอบปลายภาคเรียน
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน