รายละเอียด

วงจรไฟฟ้า / Electric Circuits

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : TEDEE401
  • ชื่อรายวิชา(TH) : วงจรไฟฟ้า
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Electric Circuits
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เรียนตามตารางปกติ ทค.1-202

เริ่มต้น 13 - 15 กรกฎาคม 2563 และอย่าลืม หน้ากาก

รายวิชา - วงจรไฟฟ้า

สัญญาณซายนูซอยดัล
1.1 เข้าใจเกี่ยวกับคำจำกัดความและพารามิเตอร์ ของวงจร
1.1.1 บอกพารามิเตอร์ของวงจรได้
1.1.2 อธิบายคำจำกัดความได้


แนะนำเครื่องมือและการใช้งาน การดูแลรักษาเครื่องมือและกฎกติกาในการใช้งานห้องปฏิบัติการ
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 1/184 ถึง 5/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ



สาธิตและศึกษาคู่มือเครื่องมือ

1.2 เข้าใจการคำนวณเกี่ยวกับสัญญาณไฟฟ้าและเฟสเซอร์ไดอะแกรม
1.2.1 คำนวณค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด และค่ายังผล
1.2.2 เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมจาก สัญญาณไซน์


การใช้ออสซิลโลสโคป
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 6/184 ถึง 12/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ



ทดลองตามใบงาน

1.3 คุณลักษณะในวงจรอนุกรม RL
1.3.1 คำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจร อนุกรม RL
1.3.2 อธิบายตัวอย่างการคำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจรอนุกรม RL
1.4 คุณลักษณะในวงจรอนุกรม RC
1.4.1 คำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจร อนุกรม RC
1.4.2 อธิบายตัวอย่างการคำนวณหาค่าทางไฟฟ้า ในวงจรอนุกรม RC


ตัวเหนี่ยวนำ
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 13/184 ถึง 21/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ






ทดลองตามใบงาน

1.5 คุณลักษณะในวงจรอนุกรม RLC
1.5.1 คำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจร อนุกรม RLC
1.5.2 อธิบายตัวอย่างการคำนวณหาค่าทางไฟฟ้า ในวงจรอนุกรม RLC



ตัวเก็บประจุ
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 22/184 ถึง 41/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ



ทดลองตามใบงาน

1.6 คุณลักษณะในวงจรขนาน RL
1.6.1 คำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจรขนาน RL
1.6.2 อธิบายตัวอย่างการคำนวณหาค่าทางไฟฟ้า ในวงจรขนาน RL


วงจรอนุกรม R-L-C
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 42/184 ถึง 61/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ


ทดลองตามใบงาน

1.7 คุณลักษณะในวงจรขนาน RC
1.7.1 คำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจรขนาน RC
1.7.2 อธิบายตัวอย่างการคำนวณหาค่าทางไฟฟ้า ในวงจรขนาน RC
1.8 คุณลักษณะในวงจรขนาน RLC
1.8.1 คำนวณหาค่าทางไฟฟ้าในวงจรขนาน RLC
1.8.2 อธิบายตัวอย่างการคำนวณหาค่าทางไฟฟ้า ในวงจรขนาน RLC


วงจรขนาน R-L-C
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 62/184 ถึง 70/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ






ทดลองตามใบงาน

วงจรรีโซแนนซ์
2.1 เข้าใจสภาวะรีโซแนนท์ในวงจรอนุกรม
2.1.1 อธิบายความหมายของการเกิดรีโซ แนนซ์ในวงจรอนุกรม
2.1.2 คำนวณหาค่าต่างๆขณะเกิดรีโซแนนซ์ในวงจรอนุกรม



วงจรรีโซแนนซ์แบบ อนุกรม
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 71/184 ถึง 79/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ




ทดลองตามใบงาน

2.2 เข้าใจสภาวะรีโซแนนท์ในวงจรขนาน
2.2.1 อธิบายความหมายของการเกิดรีโซ แนนซ์ในวงจรขนาน
2.2.2 คำนวณหาค่าต่างๆขณะเกิดรีโซแนนซ์ ในวงจรขนาน



วงจรรีโซแนนซ์แบบ ขนาน
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 80/184 ถึง 89/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ



ทดลองตามใบงาน

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

จำนวนเชิงซ้อน
3.1 ความหมาย
3.1.1 ความหมายของจำนวนเชิงซ้อน, จำนวนจริงและจำนวนจินตภาพ
3.1.2 นิยามของจำนวนเชิงซ้อน
3.1.3 จำนวนเชิงซ้อนสังยุค
3.1.4 กฎเกณฑ์พีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน
3.2 เรขาคณิตของจำนวนเชิงซ้อน
3.2.1 จำนวนเชิงซ้อนในระบบพิกัดฉาก
3.2.2 จำนวนเชิงซ้อนในระบบพิกัดเชิงขั้ว
3.2.3 การเปลี่ยนรูปจำนวนเชิงซ้อนระหว่าง ระบบพิกัดฉากและระบบพิกัดเชิงขั้ว


ปฏิบัติการใช้โปรแกรมช่วยในการวาดรูปกราฟ
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 90/184 ถึง 102/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ








บรรยาย/สาธิตการใช้งานโปรแกรม

3.3 การคูณและการหารจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
3.3.1 การคูณจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
3.3.2 การหารจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
3.3.3 การหารากของจำนวนเชิงซ้อน
3.3.4 การหาเลขยกกำลังของจำนวน เชิงซ้อน


ปฏิบัติการใช้โปรแกรมช่วยในการวาดรูปกราฟ
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 103/184 ถึง 113/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ



บรรยาย/สาธิตการใช้งานโปรแกรม ทดลองสร้างฟังก์ชัน

กฎของโอห์มและเคอร์ชอฟฟ์
3.1 ทฤษฎีของโอห์ม
3.1.1 อธิบายหลักการของโอห์ม
3.1.2 อธิบายวิธีเขียนสมการของโอห์ม
3.1.3 แสดงวิธีแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าโดยใช้กฎของโอห์ม


ปฏิบัติการ ออกแบบการทดลองตามหัวข้อที่นักศึกษาเลือก 1,2,3
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 114/184 ถึง 129/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ



ทดลองตามใบงานที่ได้ออกแบบ

3.1 ทฤษฎีของเคอร์ชอฟฟ์
3.1.1 อธิบายหลักการของเคอร์ชอฟฟ์
3.1.2 อธิบายวิธีเขียนสมการของเคอร์ชอฟฟ์
3.1.3 แสดงวิธีแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าโดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์


ปฏิบัติการ ออกแบบการทดลองตามหัวข้อที่นักศึกษาเลือก 1,2,3
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 130/184 ถึง 144/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ


ทดลองตามใบงานที่ได้ออกแบบ

วงจรโหนด เมชและทฤษฎีของเทเวนิน, นอร์ตัน
4.1 ทฤษฎีของแรงดันโนด (NODE VOLTAGE)
4.1.1 อธิบายหลักการของแรงดันโนด
4.1.2 อธิบายวิธีเขียนสมการของแรงดันโนด
4.1.3 แสดงวิธีแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าโดยใช้กฎของแรงดันโนด
4.2 ทฤษฎีของกระแสเมช (MASH CURRENT)
4.2.1 อธิบายหลักการของกระแสเมช
4.2.2 อธิบายวิธีเขียนสมการของกระแสเมช
4.2.3 แสดงวิธีแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าโดยใช้กฎของกระแสเมช


นักศึกษานำเสนอผลการออกแบบใบงาน ตามหัวข้อที่ได้เลือก
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 145/184 ถึง 157/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ








ทดลองตามใบงานที่ได้ออกแบบ

4.3 ทฤษฎีของเทวินิน (Thevenin Theory)
4.3.1 อธิบายหลักการของเทวินิน
4.3.2 อธิบายวิธีเขียนสมการของเทวินิน
4.3.3 แสดงวิธีแก้ปัญหาของวงจรไฟฟ้าโดย ใช้กฎ ของเทวินิน
4.4 ทฤษฎีของนอร์ตัน (Norton Theory)
4.4.1 อธิบายหลักการของนอร์ตัน
4.4.2 อธิบายวิธีเขียนสมการของนอร์ตัน
4.4.3 แสดงวิธีแก้ปัญหาของวงจรไฟฟ้าโดย ใช้กฎ ของนอร์ตัน


นักศึกษานำเสนอผลการออกแบบใบงาน ตามหัวข้อที่ได้เลือก
กิจกรรม : เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
แผ่นโปร่งใสหมายเลข 158/184 ถึง 184/184
ทำแบบทดสอบ
สรุปและซักถามความเข้าใจ








ทดลองตามใบงานที่ได้ออกแบบ

นำเสนอหน่วยเรียนเรื่อง วงจรไฟฟ้าสามเฟส


นักศึกษานำเสนอผลการออกแบบใบงาน ตามหัวข้อที่ได้เลือก
กิจกรรม : นักศึกษารายกลุ่ม


ทดลองตามใบงานที่ได้ออกแบบ

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน