รายละเอียด

จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน / Psychology for Living and Work

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : GEBSO106
  • ชื่อรายวิชา(TH) : จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Psychology for Living and Work
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

อาจารย์ผู้สอน นายคุณากร สุปน หมายเลขโทรศัพย์มือถือ 0910253305

Facebook : Kunakorn Kuna Supon

รายวิชา - จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน

1.ความรู้พื้นฐานจิตวิทยาการดำเนินชีวิต และการทำงาน
1.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจิตวิทยา
1.2ความหมายของจิตวิทยา
1.3พฤติกรรมมนุษย์
1.4ความแตกต่างระหว่างบุคคล

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

1.5 ปัจจัยัทีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์
1.6 พฤติกรรมการทา งานของบุคคล
1.7 ประโยชน์ของจิตวิทยา

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

2. เชาวน์อารมณ์
2.1 ความหมายของเชาวน์อารมณ์
2.2 ลักษณะของเชาวน์อารมณ์
2.3 องค์ประกอบของเชาวน์อารมณ์
2.4 ความสำคัญ ของเชาวน์อารมณ์

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

2.5 แนวทางการพัฒนาเชาวน์อารมณ์

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

3.สุขภาพจิตและการปรับตัว
3.1 สุขภาพจิต
3.1.1 ความหมายของสุขภาพจิต
3.1.2 ลักษณะของบุคคลที่มีสุขภาพจิตดี
3.1.3 ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพจิต

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

3.2 การปรับตัว
3.2.1สภาพการณ์ที่ก่อให้เกิดความตึงเครียด ในอารมณ์หรือปัญหาในการปรับตัว
3.2.2รูปแบบของการตอบโต้ต่อความตึง เครียดทางอารมณ์
3.3 การส่งเสริมสุขภาพจิตและการปรับตัว

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

4. การเห็นคุณค่าในตนเอง
4.1 ความหมายของการเห็นคุณค่าในตนเอง
4.2 ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง
4.3 องค์ประกอบของการเห็นคุณค่าในตนเอง
สั
กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

4.4 ลักษณะของบุคคลที่เห็นคุณค่าในตนเอง
4.5 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเห็นคุณค่าในตนเอง
4.6 การเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

สอบกลางภาค

กิจกรรม :

5. แรงจูงใจ
5.1 ความหมายของแรงจูงใจ
5.2 กระบวนการจูงใจ
5.3 องค์ประกอบที่มีผลต่อแรงจูงใจ
5.4 ความสำคัญของแรงจูงใจ
5.5 ประเภทของแรงจูงใจ

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

5.6 ทฤษฎีแรงจูงใจ

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

5.7 แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

6. มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
6.1ความหมายของมนุษยสัมพันธ์
6.2แนวคิดพื้นฐานของมนุษยสัมพันธ์
6.3ความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์
6.4องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

6.5 หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์
6.6 แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์
6.7 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

7.ความขัดแย้ง
7.1 ความหมายของความขัดแย้ง
7.2 ประเภทของความขัดแย้ง
7.3 สาเหตุของความขัดแย้ง
7.4 ผลของความขัดแย้ง

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

7.5 การบริหารความขัดแย้ง
7.6 เทคนิคลดความขัดแย้ง

กิจกรรม : บรรยาย
อภิปราย
สรุป

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบ

อาจารย์ผู้สอน