รายละเอียด

มนุษยสัมพันธ์ / Human Relations

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : GEBSO104
  • ชื่อรายวิชา(TH) : มนุษยสัมพันธ์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Human Relations
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

นักศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ประจำวิชาได้ ที่ 0895558538  ที่ห้อง LA 721 อาคารศิลปศาสตร์

รายวิชา - มนุษยสัมพันธ์

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
1.1 ความรู้เบื้องต้นของมนุษยสัมพันธ์
-ความหมายของมนุษยสัมพันธ์
- ความหมายของวิชมนุษยสัมพันธ์
-ความสำคัญมนุษยสัมพันธ์
-ประวัติความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์

1.2 แนวคิดของวิชามนุษยสัมพันธ์
- จุดมุ่งหมายของมนุษยสัมพันธ์
-ลักษณะของมนุษยสัมพันธ์
- ปัจจัยที่เป็นเหตุให้บุคคลสร้างมนุษยสัมพันธ์
- ปรัชญาพื้นฐานของมนุษยสัมพันธ์

กิจกรรม : - แจกแผนการเรียน
- ชี้แจงแนะนำวิธีการเรียนการสอน
- ข้อตกลงในการปฏิบัติในการเข้าเรียน
-อธิบายประกอบการดูวีซีดี
- ทบทวนบทเรียน

1.3 การศึกษาวิชามนุษยสัมพันธ์
- แนวทางการศึกษามนุษยสัมพันธ์
- ขอบเขตและหัวข้อพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
- ประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์
บทที่ 2 ธรรมชาติของมนุษย์เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
2.1 ธรรมชาติของมนุษย์ตามทัศนะของกลุ่มต่างๆ
- ธรรมชาติของมนุษย์ตามทัศนะของนักจิตวิทยา
- ธรรมชาติของมนุษย์ตามทัศนะของนักสังคมวิทยา
- ธรรมชาติของมนุษย์ตามแนวคิดของนักบริหาร
- ธรรมชาติของมนุษย์ตามทัศนะ
ของพระพุทธศาสนา

กิจกรรม : สอนแบบบรรยายประกอบสื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์

2.2 บุคลิกภาพแบบต่างๆของมนุษย์
- ความหมายของบุคลิกภาพ
- ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ
- บุคลิกภาพตามกลุ่มเลือด
- บุคลิกภาพตามแนวพุทธศาสนา


กิจกรรม : - ทำกิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพ

2.3 ความต้องการของมนุษย์
- ความหมายของความต้องการของมนุษย์
- ความต้องการตามแนวคิดของบีช
- ความต้องการตามแนวคิดของเมอร์เรย์
- ความต้องการตามแนวพุทธ
บทที่ 3 หลักจิตวิทยาและทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์
3.1 การรู้จักและการพัฒนาตนเอง
- ความหมายของความรู้จักและการพัฒนาตนเอง
- การเข้าใจและยอมรับผู้อื่น
- การพัฒนาตนเองเพื่อมนุษยสัมพันธ์
- เทคนิคการพัฒนาตนเองเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์

กิจกรรม : อธิบายประกอบบทเรียน

3.2 ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์
- การศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
- ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์

กิจกรรม : อธิบายประกอบบทเรียน

3.3 จิตวิทยาการสร้างมิตร
- มารยาทสังคมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์
- การเป็นมิตรกับตนเอง
- การเป็นมิตรกับผู้อื่น

กิจกรรม : - บททวนบทเรียน
- กิจกรรมการสร้างมิตร

บทที่ 4 แรงจูงใจและการติดต่อสื่อสารกับมนุษยสัมพันธ์
4.1 ความหมายและประเภทของแรงจูงใจ
- ความหมายของแรงจูงใจ
- ประเภทของแรงจูงใจ
- ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจ
- พฤติกรรมของมนุษย์
- การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร
- ทฤษฎีแรงจูงใจ

กิจกรรม : - ทบทวนบทเรียน
- ทำกิจกรรมพัฒนาตนเอง

4.2 การติดต่อสื่อสารกับมนุษยสัมพันธ์
- ความหมายของการติดต่อสื่อสาร
- องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร
- กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- สื่อที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
- ปัญหาการติดต่อสื่อสาร
- เป้าหมายของการติดต่อสื่อสาร
- หลักการติดต่อสื่อสาร
- มนุษยสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

กิจกรรม : - ทบทวนบทเรียน
- ทำกิจกรรมการติดต่อสื่อสาร
- ดูวีซีดี
*ให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการทำบุญส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่สาขาศิลปศาสตร์

หน่วยเรียนที่ 1-4
กิจกรรม : สอบกลางภาค

บทที่ 5 ภาวะผู้นำกับมนุษยสัมพันธ์
5.1 สาระสำคัญของผู้นำ
- ความหมายของผู้นำ
- ลักษณะทั่วไปของผู้นำ
- คุณลักษณะความเป็นผู้นำ
- คุณสมบัติเชิงมนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้นำ
- มนุษยสัมพันธ์กับอำนาจผู้นำ
5.2 บทบาทและหน้าที่ของผู้นำ
- บทบาทของผู้นำในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
- ความสำคัญของผู้นำ
- หน้าที่ผู้นำ
- ทักษะผู้นำ

กิจกรรม : เล่นเกมส์กิจกรรมบทบาทสมมติ
- อธิบายประกอบบทเรียน
เล่นเกมส์กิจกรรมบทบาทสมมติ
- อธิบายประกอบบทเรียน

5.3 มนุษยสัมพันธ์กับการบริหารความขัดแย้ง
- ความหมายและประเภทของความขัดแย้ง
- สาเหตุและการแก้ปัญหาของความขัดแย้ง
- การแก้ปัญหาของความขัดแย้ง
- บทบาทของผู้นำกับการบริหารความขัดแย้ง

กิจกรรม : - ทบทวนบทเรียน
- อธิบายประกอบบทเรียน

บทที่ 6 มนุษยสัมพันธ์กับหลักธรรมของศาสนา
6.1 หลักธรรมของศาสนาที่สำคัญ
- หลักธรรมสำคัญในศาสนาพุทธ
- หลักธรรมสำคัญในศาสนาคริสต์
- หลักธรรมสำคัญในศาสนาอิสลาม

กิจกรรม : - ทบทวนบทเรียน
- ดูวีซีดีพระพุทธเจ้า บัญญัติ 10 ประการ
- ให้นักศึกษาแสดงความเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการเข้าร่วมทำบุญส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่

6.2 การประยุกต์หลักธรรมเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
- หลักธรรมเพื่อการพัฒนาตนเอง
- หลักธรรมเพื่อการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคล
- หลักธรรมในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
- หลักธรรมที่จำเป็นสำหรับสมาชิกของสังคม
- การนำหลักธรรมมาปฏิบัติ

กิจกรรม : - ทำกิจกรรมประกอบการเรียน
- อธิบายประกอบบทเรียน

บทที่ 7 มนุษยสัมพันธ์กับพื้นฐานวัฒนธรรมไทย
7.1หลักมนุษยสัมพันธ์ในครอบครัว
-การสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบิดา-มารดา และบุตร
-การสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสามี-ภรรยา
-การสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าบ้านกับคนรับใช้
7.2หลักมนุษยสัมพันธ์กับคนทั่วไป
-แนวการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน
-การสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมทั่วไป

กิจกรรม : ทบทวนบทเรียน
- ดูวีซีดีสารคดี
- อธิบายประกอบบทเรียน

7.3 มนุษยสัมพันธ์ตามพื้นฐานวัฒนธรรมไทย
- ความสำคัญและประเภทของวัฒนธรรมไทย
- มนุษยสัมพันธ์ตามแบบไทย
บทที่ 8 การฝึกอบรมเพื่อมนุษยสัมพันธ์
8.1 การฝึกอบรมเพื่อมนุษยสัมพันธ์
- ความหมายของการฝึกอบรม
- ความสำคัญของการฝึกอบรม
- จุดมุ่งหมายของการฝึกอบรม
- คุณค่าและความจำเป็นของการฝึกอบรม
- ประเภทของการฝึกอบรม
- ประโยชน์ของการฝึกอบรม

กิจกรรม : ทบทวนบทเรียน
- ทำกิจกรรมเกี่ยวกับการอบรม

8.2 เทคนิคการฝึกอบรม
- ระบบการฝึกอบรม
- กระบวนการฝึกอบรม
- รูปแบบการฝึกอบรม
- การเลือกใช้เทคนิคการฝึกอบรม
- อุปสรรคของการฝึกอบรม

กิจกรรม : - ทบทวนบทเรียน
- ทำกิจกรรมการฝึกอบรม
- ดูวีซีดีการฝึกอบรม
- ทบทวนการเรียนทั้งหมดเพื่อเตรียมสอบปลายภาค

สอนเสริม หน่วยเรียนที่ 5-8



สัปดาห์ที่ 18
กิจกรรม : ทบทวนหน่วนเรียนที่5-8



สอบปลายภาค

อาจารย์ผู้สอน