รายละเอียด

เคมีอินทรีย์ / Organic Chemistry

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 2 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCCC108
  • ชื่อรายวิชา(TH) : เคมีอินทรีย์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Organic Chemistry
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

ให้นักศึกษา เข้า  group line  เพื่อติดต่อและประสานงานกันเบื้องต้น

สำหรับ Microsoft Teams App ให้เข้าเรียนตามเวลาเรียนในตารางเวลา

นักศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ผู้สอนได้ทาง

อ.ญาณี โทร 0911439379 หรือ Line ID ; bluemoon033

อ.อาทิตย์ โทร 0941915690 หรือ Line ID ; blue3605400

รายวิชา - เคมีอินทรีย์

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์
1.1 ความหมายและสมบัติทั่วไปของเคมีอินทรีย์
1.1.1 ความหมายและความสำคัญของสารอินทรีย์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1.1.2 คุณสมบัติทั่วไปของสารอินทรีย์
1.1.3 แหล่งที่มาของสารอินทรีย์

ข้อแนะนำทั่วไปและอุปกรณ์การทดลอง
กิจกรรม : 1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

จัดกลุ่มผู้เรียนแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับข้อตกลงในการทำปฏิบัติการและการประเมินผลการเรียน
มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์
1.2 พันธะเคมีของสารประกอบอินทรีย์
1.2.1 พันธะเคมีของคาร์บอน
1.2.2 สูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์
1.2.3 สภาพขั้วของพันธะและโมเลกุล
1.2.4 แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล

เทคนิคทั่วไปในการทำการทดลองระดับไมโคร
กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

อธิบายและสาธิตการทำการทดลองในระดับไมโคร

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์
1.3 ชนิดของสารอินทรีย์
1.3.1 ไฮโดรคาร์บอน
1.3.1.1 แอลเคน
1.3.1.2 แอลคีน
1.3.1.3 แอลไคน์
1.3.1.4 แอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
1.3.2 สารอินทรีย์ที่มีออกซิเจน
1.3.2.1 แอลกอฮอล์
1.3.2.2 อีเทอร์
1.3.2.3 แอลดีไฮด์และคีโตน
1.3.2.4 กรดคาร์บอกซิลิกและเอสเทอร์
1.3.3 สารอินทรีย์ที่มีไนโตรเจน
1.3.3.1 แอมีน
1.3.3.2 แอไมด์
1.3.3.1 ไนไทรล์
1.4 ปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์
1.4.1 ปฏิกิริยาการเติม
1.4.2 ปฏิกิริยาการกำจัด
1.4.3 ปฏิกิริยาการแทนที่
1.4.4 ปฏิกิริยาการจัดตัวใหม่
1.4.5 ปฏิกิริยาการเผาไหม้

บทปฏิบัติการที่ 1 การตกผลึกใหม่

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า

หน่วยที่ 2 อัลเคนและไซโคลอัลเคน
2.1 การอ่านชื่อสารประกอบแอลเคน
2.2 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
2.3 การเตรียมแอลเคน
2.3.1 ปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันของแอลคีนและแอลไคน์
2.3.2 ปฏิกิริยารีดักชันของแอลคิลเฮไลด์
2.4 ปฏิกิริยาของแอลเคน
2.4.1 ปฏิกิริยาการเผาไหม้
2.4.2 ปฏิกิริยาการแทนที่
2.4.3 ปฏิกิริยาการเกิดไอโซเมอร์
2.4.4 ปฏิกิริยาการขจัดไฮโดรเจน
2.5 ไซโคลแอลเคน
2.5.1 การอ่านชื่อสารประกอบไซโคล
แอลเคน
2.5.2 สมบัติทั่วไปของไซโคลแอลเคน

บทปฏิบัติการที่ 2 การหาจุดหลอมเหลว

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 3 อัลคีนและอัลไคน์
3.1 อัลคีน
3.1.1 การอ่านชื่อสารประกอบแอลคีน
3.1.2 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
3.1.3 การเตรียมแอลคีน
3.1.4 ไซโคลเอลคีน
3.2 อัลไคน์
3.2.1 การอ่านชื่อสารประกอบแอลไคน์
3.2.2 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
3.2.3 การเตรียมแอลไคน์
3.3 ปฏิกิริยาของอัลคีนและแอลไคน์
3.3.1 ปฏิกิริยาการเติม
3.3.2 ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์
3.3.3 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน

บทปฏิบัติการที่ 3 การหาจุดเดือด

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 4 แอโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
4.1 การอ่านชื่อสารประกอบแอโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
4.2 ปฏิกิริยาของแอโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
4.2.1 ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยไฮโดรเจน
4.2.2 ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยหมู่แฮโลเจน
4.2.3 ปฏิกิริยาการเติมหมู่แอลคิล

บทปฏิบัติการที่ 4 ตัวทำละลายอินทรีย์

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint


- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 5 สเตอริโอเคมีเบื้องต้น
5.1 ความหมายของสเตอริโอเคมี
5.2 การเกิดไอโซเมอร์และประเภทของไอโซเมอร์
5.2.1 ไอโซเมอร์เชิงโครงสร้าง
5.2.2 ไอโซเมอร์เชิงสเตอริโอ
5.3 โครงสร้างโมเลกุลและสมมาตร
5.4 การหมุนแสงโพลาไรช์
5.5 การกำหนดคอนฟิกิวเรชัน

บทปฏิบัติการที่ 5 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

นำเสนองาน
กิจกรรม : ให้นักศึกษาจัดกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาโจทย์ที่ครูมอบหมาย โดยนักศึกษาช่วยกันสรุปประเด็นและนำเสนอหน้าชั้นเรียน

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

หน่วยที่ 6 แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอีเทอร์
6.1 แอลกอฮอล์ ฟีนอล
6.1.1 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของแอลกอฮอล์
6.1.2 การจำแนกประเภทแอลกอฮอล์
6.1.3 การอ่านชื่อสารประกอบแอลกอฮอล์
6.1.4 ปฏิกิริยาของแอลกอฮอล์
6.1.5 สมบัติและปฏิกิริยาของฟีนอล

บทปฏิบัติการที่ 6 เทคนิคการกลั่น

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint


ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มค้นคว้าเทคนิคการกลั่นประเภทต่างๆ พร้อมทั้งนำเสนอและแลกเปลี่ยนความรู้ภายในชั้นเรียน

หน่วยที่ 6 แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอีเทอร์
6.2 อีเทอร์
6.2.1 การอ่านชื่อของอีเทอร์
6.2.2 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
6.2.3 การเตรียมอีเทอร์
6.2.4 ปฏิกิริยาของอีเทอร์

บทปฏิบัติการที่ 7 แอลกอฮอล์

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 7 แอลดีไฮด์และคีโตน
7.1. สมบัติทางกายภาพและเคมีของแอลดีไฮด์และคีโตน
7.2 การอ่านชื่อ
7.2.1 การอ่านชื่อแอลดีไฮด์
7.2.2 การอ่านชื่อคีโตน
7.3 ปฏิกิริยาของแอลดีไฮด์และคีโตน
7.3.1 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
7.3.2 ปฏิกิริยารีดักชัน
7.3.3 ปฏิกิริยาไฮเดรชัน
7.3.4 ปฎิกิริยากับสารละลายเบเนดิกส์
7.3.5 ปฎิกิริยาการเกิดไอโอโดฟอร์ม

บทปฏิบัติการที่ 8 แอลดีไฮด์และคีโตน

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 8 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์
8.1. สมบัติทางกายภาพและเคมีของกรดคาร์บอกซิลิก
8.1.1 โครงสร้างของกรดคาร์บอกซิลิก
8.1.2 สมบัติทางกายภาพ
8.1.3 สภาพกรดของกรดคาร์บอกซิลิก
8.2 การอ่านชื่อสารประกอบกรดคาร์บอกซิลิก
8.3 การเตรียมกรดคาร์บอกซิลิก
8.3.1 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
8.3.2 ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส

บทปฏิบัติการที่ 9 กรดคาร์บอกซิลิกและเอสเทอร์
กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- เขียนแผนผังการทดลองก่อนเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มอธิบายวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 8 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์
8.3 การเตรียมกรดคาร์บอกซิลิก (ต่อ)
8.3.1 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
8.3.2 ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
8.4 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิก
8.4.1 การเกิดเกลือ
8.4.2 ปฏิกิริยารีดักชัน
8.4.3 ปฏิกิริยาเปลี่ยนแอลกอฮอล์ไปเป็นเอ ซิลแฮไลด์

โครงงานการบูรณาการความรู้เคมีอินทรีย์กับชีวิตประจำวัน

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มค้นคว้าการนำความรู้เคมีอินทรีย์ไปใช้กับชีวิตประจำวัน
- ออกแบบวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

หน่วยที่ 9 เอมีนและเอไมด์
9.1 เอมีน
9.1.1 สมบัติทางกายภาพและเคมีของเอมีน
9.1.2 การอ่านชื่อสารประกอบเอมีน
9.1.3 การเตรียมเอมีน
9.1.4 ปฏิกิริยาของเอมีน
9.2 เอไมด์
9.2.1 สมบัติทางกายภาพและเคมีของเอไมด์
9.2.2 การอ่านชื่อสารประกอบเอไมด์
9.2.3 การเตรียมเอไมด์
9.2.4 ปฏิกิริยาของเอไมด์

โครงงานการบูรณาการความรู้เคมีอินทรีย์กับชีวิตประจำวัน

กิจกรรม : 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การสอนแบบบรรยายโดยใช้ powerpoint

- ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มค้นคว้าการนำความรู้เคมีอินทรีย์ไปใช้กับชีวิตประจำวัน
- ออกแบบวิธีการทดลอง
- นักศึกษาทำการทดลอง สรุปผลการทดลอง

นำเสนองาน
กิจกรรม : ให้นักศึกษาจัดกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาโจทย์ที่ครูมอบหมาย โดยนักศึกษาช่วยกันสรุปประเด็นและนำเสนอหน้าชั้นเรียน

ทบทวน/ ซ่อมเสริม
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน