รายละเอียด

การยศาสตร์ / Ergonomics

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BAAID108
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การยศาสตร์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Ergonomics
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2562

รายละเอียด

การยศาสตร์

 

หมวดที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1.รหัสและชื่อรายวิชารหัสรายวิชา BAAID108

ชื่อรายวิชาภาษาไทยการยศาสตร์

ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Ergonomics

2.จำนวนหน่วยกิต2( 2 - 0 - 4 )3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา1 หลักสูตร


3.1 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม

3.2 ประเภทกลุ่มวิชาชีพบังคับ


4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

5.ภาคเรียน/ปีการศึกษาภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2561

6.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)

7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)

8.สถานที่เรียนเชียงใหม่9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด18 เมษายน 2562 15:12ประเภท :มคอ.3

 

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.1 รู้และเข้าใจทฤษฎีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการยศาสตร์
1.2 เข้าใจระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์
1.3 เข้าใจขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์
1.4 เข้าใจการทำงานของกระดูกและกล้ามเนื้อเพื่อการเคลื่อนไหว
1.5 เข้าใจความสามารถในการมองเห็น ได้ยิน
1.6 เข้าใจสาเหตุที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการยศาสตร์โครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์เพื่อใช้ในงานออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ

เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบเครื่องเรือน และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์

 

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์ การเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย :30 ชั่วโมงสอนเสริม :สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะรายการฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :-การศึกษาด้วยตนเอง :การศึกษาด้วยตนเอง
4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)

 

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

1.2 วิธีการสอน

1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม

1.3 วิธีการประเมินผล

1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา

2. ความรู้

2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

2.1.1 มีความรู้และเข้าใจวิธีการคิด ระบบการคิด กระบวนการคิด กระบวนทัศน์ทางการคิดเพื่อการออกแบบ

2.2 วิธีการสอน

บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning

2.3 วิธีการประเมินผล

2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning

3. ทักษะทางปัญญา

3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

3.2 วิธีการสอน

3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ

3.3 วิธีการประเมินผล

3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม

4.2 วิธีการสอน

4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน

4.3 วิธีการประเมินผล

4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา

5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

5.2 วิธีการสอน

5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

5.3 วิธีการประเมินผล

5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย

6. ด้านทักษะพิสัย6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

6.2 วิธีการสอน

6.3 วิธีการประเมินผล

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม

2.ความรู้

3.ทักษะทางปัญญา

4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

6.ทักษะพิสัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่ 1หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 1 ระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์

    1. ที่มาแลความหมายของการยศาสตร์
    2. วัตถุประสงค์ของการศึกษาการยศาสตร์

 

1.1 การแบ่งวัยและพัฒนาการของมนุษย์

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 2 หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 1 ระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์(ต่อ)

    1. ความสำคัญของการศึกษาการยศาสตร์
    2. ขนาดสัดส่วนมาตรฐานในวัยต่าง ๆ

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 3 หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 2 ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์

  •  ระบบโครงกระดูก  (The Skeletal System)

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 4หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 2 ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์(ต่อ)

         -  ระบบกล้ามเนื้อ  (The Muscular System)

 2.2 ระบบข้อต่อ

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 5หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 2 ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์(ต่อ)

           - การแบ่งสัดส่วนร่ายกายมนุษย์

           - สัดส่วนมาตรฐานของคนไทย

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 6หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 3 การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์

           - ลักษณะโครงสร้างเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์

           - ชนิดของการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 7หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 3 การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ (ต่อ)

           - ลักษณะและข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์

           - พิสัยและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 8หัวข้อ/รายละเอียด

สอบกลางภาค

จำนวนชั่วโมง: 9 ชั่วโมง

กิจกรรม

สอบกลางภาค

________________________________________

สัปดาห์ที่ 9หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์

           การรับรู้และการเห็น

           - การรับรู้เกี่ยวกับสายตา

           - การรับรู้เกี่ยวกับสีต่อสภาพจิตใจ

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

 

 

สัปดาห์ที่ 10หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์(ต่อ)

  • มือและแขน
  • คอและหลัง
  • เท้าเข่าและขา

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 11หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์

           - สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 12หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์(ต่อ)

           - สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 13หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์

           - สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 14หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และผลิตภัณฑ์ (ต่อ)

  • สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบเครื่องเรือน

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 15หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และผลิตภัณฑ์ (ต่อ)

  • สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบเครื่องเรือน

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 16หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และผลิตภัณฑ์ (ต่อ)

  • สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบเครื่องเรือน

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

1. บรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบงานที่มอบหมาย

________________________________________

สัปดาห์ที่ 17หัวข้อ/รายละเอียด

สอบปลายภาค

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

กิจกรรม

สอบปลายภาค

 

 

หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรที่

ผลการเรียนรู้ *

วิธีการประเมินผลนักศึกษา

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการประเมินผล

1

2.3.1, 3.3.1

สอบกลางภาค สอบปลายภาค

8,16

35% และ 35%

2

2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2

การนำเสนองาน ผลงานที่มอบหมาย

ตลอดภาคการศึกษา

5% และ 15%

3

1.3.1

การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด

ตลอดภาคการศึกษา

10%

 

หมวดที่ 6

ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก

นวลน้อย บุญวงษ์ (2539). หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิรัช สุดสังข์ (2548). ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธีระชัย สุขสด (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.

กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
พรเทพ เลิศเทวศิริ. (2545). Design Education 1 รวมบทความและรายงานการวิจัยศาสตร์แห่งการออกแบบ.

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Henry Dreyfuss Associates (2002). The Measure of Man and Woman. New York : John Wiley & Sons.
Nagamachi, M. Kansei Engineering : A new ergonomic consumer-oriented technology for product development.
  International Journal of In dustrisl Ergonomics. 15 (1995) P.3-11.

2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ

-

3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ

เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน

หมวดที่ 7

การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

1.1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอน และผู้เรียน
1.2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

2.1. การสังเกตุการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน

3.1. ประชุมเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอน
3.2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

4.1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของน?

รายวิชา - การยศาสตร์

บทที่ 1 ระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์
1.1 ที่มาและความหมายของการยศาสตร์
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษาการยศาสตร์


กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 1 ระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์(ต่อ)
1.3 ความสำคัญของการศึกษาการยศาสตร์


กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 2 ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์
- ระบบโครงกระดูก (The Skeletal System)


กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 2 ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์(ต่อ)
- ระบบกล้ามเนื้อ (The Muscular System)


กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 2 ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์(ต่อ)
- การแบ่งสัดส่วนร่ายกายมนุษย์
- สัดส่วนมาตรฐานของคนไทย


กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 3 การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์
- ลักษณะโครงสร้างเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์
- ชนิดของการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์


กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 3 การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ (ต่อ)
- ลักษณะและข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์
- พิสัยและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบกลางภาค

บทที่ 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์
การรับรู้และการเห็น
- การรับรู้เกี่ยวกับสายตา
- การรับรู้เกี่ยวกับสีต่อสภาพจิตใจ

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์(ต่อ)
- มือและแขน
- คอและหลัง
- เท้าเข่าและขา

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์
- สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์(ต่อ)
- สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์(ต่อ)
- สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และผลิตภัณฑ์ (ต่อ)
- สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบเครื่องเรือน

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และผลิตภัณฑ์ (ต่อ)
- สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบเครื่องเรือน
กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

บทที่ 5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และผลิตภัณฑ์ (ต่อ)
- สัดส่วนมนุษย์กับงานออกแบบเครื่องเรือน
กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงานที่มอบหมาย

ทบทวนการนำวัตถุประสงค์ของการศึกษาการยศาสตร์ไปใช้ในการออกแบบ
กิจกรรม : ตรวจทานสรุปวัตถุประสงค์ของการศึกษาการยศาสตร์ไปใช้ในการออกแบบ

อาจารย์ผู้สอน