รายละเอียด

การเงินธุรกิจ / Business Fiance

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BBACC107
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การเงินธุรกิจ
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Business Fiance
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2561

รายละเอียด

คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ copy คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ copy

 

         

หลักสูตรที่ใช้ มคอ.3 เล่มนี้

ลำดับ

เล่มหลักสูตร

สถานะ

วันที่ตรวจสอบ

1                                                                                                            บริหารธุรกิจบัณฑิต                                                                             

2                       บริหารธุรกิจบัณฑิต

3

                          

บริหารธุรกิจบัณฑิต

รอตรวจสอบ

 

                                                                                            หมวดที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1.รหัสและชื่อรายวิชารหัสรายวิชาBBACC107

ชื่อรายวิชาภาษาไทยการเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี 2ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Business Finance

 2.จำนวนหน่วยกิต3( 3 - 0 - 6 )

3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา 3 หลักสูตร

4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์จุฑามาศ  พึ่งอ่อน

5.ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียนภาคการศึกษาที่ 2/2561 ชั้นปีที่ 4

6.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)BACAC111การบัญชีการเงิน หรือการบัญชีชั้นต้น BACAC110

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน

8. สถานที่เรียน  มทร.ล้านนา ตาก

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุดประเภท

มคอ.3

เขตพื้นที่ ตาก

ปีการศึกษา 2561

เทอมการศึกษา  2

 

                                                                                            หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีแนวคิดเกี่ยวกับความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางการเงิน บทบาทหน้าที่และความสำคัญของตลาดเงินและตลาดทุน  เครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ เทคนิคในการวิเคราะห์การพยากรณ์และการควบคุมทางการเงิน การจัดการทุนหมุนเวียน  งบจ่ายลงทุน  วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน ผลตอบแทนทางการเงินและการลงทุนนโยบายเงินปันผล

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

 

 

 

 วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

2.1 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะด้านการคำนวณภาษีสรรพากร บันทึกรายการทางบัญชีและจัดทำเอกสารทางบัญชีให้เป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และสอดคล้องกับที่ประมวล รัษฎากรกรกำหนด

2.2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน

2.3 เพื่อพัฒนาความรู้เกี่ยวกับกฎหมายประมวลรัษฎากรที่มีการประกาศใช้ในรอบปีพ.ศ.2561

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชีและการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการเพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีและกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากรและการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากรเพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษีระหว่างประเทศ การวางแผนภาษีและจริยธรรมของวิชาชีพ

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย :

บรรยาย 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา (3คาบต่อสัปดาห์)

สอนเสริม :

สอนเพิ่มในกรณีที่มีวันหยุดราชการตรงตามตารางสอน ต้องทำการสอนชดเชยให้ครบตามชั่วโมง

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :

-ไม่มี-

ทำการบ้านท้ายบทและโจทย์เพิ่มเติม

การศึกษาด้วยตนเอง :

การศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ห้องพักอาจารย์ ตึก4 ห้อง 418

หมวดที่ 4

1. คุณธรรม จริยธรรม

                       1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

  นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งจรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่กับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะและทำคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม มีความระมัดระวังในการใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศเพื่อให้เกิดความยั่งยืน นักศึกษาควรมีจริยธรรมดังต่อไปนี้

1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ

2) ตระหนักถึงจรรยาบรรณของนักบัญชีที่ดี ที่มีต่อหน้าที่ในการชำระภาษีสรรพากร

3) สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ และข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนได้

4) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม

      1.2 วิธีการสอน

      1.2.1 สอนหัวข้อจรรยาบรรณของนักบัญชี และยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับการตกแต่งตัวเลขทางบัญชีเพื่อเสียภาษีอย่างไม่ถูกต้อง และนำมาอภิปรายกันในชั้นเรียนสัปดาห์ละ 3 เรื่อง โดยใช้เวลาประมาณ 15 นาทีก่อนการเรียนเนื้อหารายวิชา

     1.2.2 กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ

           1.2.3 สอนหัวข้อจรรยาบรรณของนักบัญชี และยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับการเงินธุรกิจและนำมาอภิปรายกันในชั้นเรียนสัปดาห์ละ 3 เรื่อง โดยใช้เวลาประมาณ 15 นาทีก่อนการเรียนเนื้อหารายวิชา

       1.2.4 กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ

     1.3 วิธีการประเมินผล

       1.3.1 ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพจากการอภิปรายของนักศึกษา

        1.3.2 ประเมินจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียนก่อนการสอนทุกสัปดาห์ การประเมินผลการสอบกลางภาค โดยทดสอบความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี การติดตามการส่งรายงานเป็นช่วงเวลาที่กำหนดให้ การตรวจสมุดบัญชี และการตรวจเครื่องแต่งกายของนักศึกษา

2. ความรู้

      2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

       2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางธุรกิจ

2.1.2 แนวคิดและวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำการเงินธุรกิจ

2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

2.2 วิธีการสอน

2.2.1 การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด

2.2.2 การถาม – ตอบปัญหาในห้องเรียน

2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล เช่น งบการเงินระหว่างกาล เป็นต้น แล้วนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน

2.2.4 สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

2.2.1 การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด

2.2.2 การถาม – ตอบปัญหาในห้องเรียน

2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล เช่น งบการเงินระหว่างกาล เป็นต้น แล้วนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน

2.2.4 สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

2.3 วิธีการประเมินผล

2.3.1 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเรียน เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงานและการทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

2.3.2 การประเมินจากการสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค

2.3.3 การประเมินผลการเรียนรู้จากการตรวจแบบฝึกหัด

3. ทักษะทางปัญญา3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

3.1.1 สามารถพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบได้ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและพร้อมนำความรู้ที่ได้รับไปปรับประยุกต์ใช้ในการทำแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษาต่าง ๆ

3.2 วิธีการสอน

3.2.1 บรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่าง พร้อมการถาม – ตอบในชั้นเรียน

3.2.2 ฝึกการคิด ฝึกการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัก หรือกรณีศึกษาต่าง ๆ

3.2.3 การมอบหมายงานตามใบงานที่กำหนดขึ้น

3.2.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานกลุ่มหรืองานเดี่ยว

3.2.1 บรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่าง พร้อมการถาม – ตอบในชั้นเรียน

3.2.2 ฝึกการคิด ฝึกการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัก หรือกรณีศึกษาต่าง ๆ

3.2.3 การมอบหมายงานตามใบงานที่กำหนดขึ้น

3.2.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานกลุ่มหรืองานเดี่ยว

3.3 วิธีการประเมินผล

3.3.1 การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด

3.3.2 การถาม – ตอบปัญหาในห้องเรียน

3.3.3 สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

- สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้ ตามข้อตกลงที่กำหนดไว้

4.1.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี

- สามารถทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมกลุ่ม (การทำรายงานกลุ่ม) ได้โดยราบรื่น

4.1.3 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้ง ในบทบาทผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมงาน

- สามารถช่วยเหลือกันในการแก้ปัญหาในการจัดทำรายงานได้ด้วยความสามัคคีร่วมมือร่วมใจ

4.2 วิธีการสอน

4.2.1 มอบหมายงานกลุ่ม เกี่ยวกับการใช้สูตรทางการเงินธุรกิจ

4.3 วิธีการประเมินผล

4.3.1 ประเมินจากแบบฝึกหัด

4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอกรณีศึกษาของแต่ละกลุ่ม

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา

 

5.1.1 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน

- สามารถนำเสนอรายงานที่ศึกษาค้นคว้า ทั้งในรูปแบบของการเขียนรายงาน และการนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียนโดยวาจาได้อย่างเหมาะสม

- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูลรายงาน และเทคนิคการนำเสนอรายงานการเงินได้อย่างเหมาะสม

5.2 วิธีการสอน

5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้าด้วยตนเองจาก web site สื่อการสอน E-learning เป็นต้น

5.2.2 การนำเสนอและยกตัวอย่างโดยใช้ Power point

5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้าด้วยตนเองจาก web site สื่อการสอน E-learning เป็นต้น

5.2.2 การนำเสนอและยกตัวอย่างโดยใช้ Power point

5.3 วิธีการประเมินผล

5.3.1 ประเมินจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

5.3.2 การตรวจรูปเล่มรายงาน

6. ด้านทักษะพิสัย6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

-ไม่มี-

6.2 วิธีการสอน

-ไม่มี-

-ไม่มี-

6.3 วิธีการประเมินผล

-ไม่มี-

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม

2. ความรู้

3. ทักษะทางปัญญา

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทัษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ลำดับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

1

2

 

รายวิชา - การเงินธุรกิจ

อาจารย์ผู้สอน