รายละเอียด

กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี / Law for Accounting Profession

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BACAC113
  • ชื่อรายวิชา(TH) : กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Law for Accounting Profession
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2561

รายละเอียด

หลักสูตรที่ใช้ มคอ.3 เล่มนี้

ลำดับ

เล่มหลักสูตร

สถานะ

วันที่ตรวจสอบ

1

บัญชีบัณฑิต

รอตรวจสอบ

 

2                            บัญชีบัณฑิต                                   รอตรวจสอบ

หมวดที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1.รหัสและชื่อรายวิชารหัสรายวิชา BACAC113

ชื่อรายวิชาภาษาไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษLaw for Accounting Profession

2.จำนวนหน่วยกิต 3(3 - 0 - 6 )

3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา 2หลักสูตร

4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

    จุฑามาศ  พึ่งอ่อน

5.ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียนภาคการศึกษาที่ 1/2561 ชั้นปีที่  2  บัญชี (4 ปี)

6.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)

7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)

8.สถานที่เรียน ตาก

9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุดประเภท :มคอ.3

เขตพื้นที่ :ตาก

ปีการศึกษา :2561เทอมการศึกษา 1

 

 

 

 

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.1อธิบายลักษณะ ความหมาย วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการศึกษากฎหมายที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจกฏหมายทรัพย์สินทางปัญญาเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่พรากฏหมายเกี่ยวกับการจัดองค์กรธุรกิจด้านนิติบุคคลพระราชบัญญัติทางหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์ การกำกับควบคุม และกฏหมายที่เกี่ยวกับการบัญชีเช่น พระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีและวิชาชีพบัญชี

1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการจัดทำบัญชีและงบการเงินสำหรับกิจการให้บริการและกิจการ

พาณิชยกรรม ตามกฎหมายที่เกี่ยวกับการบัญชีและพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.2547 และ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.. 2543 กฎหมายธุรกิจเกี่ยวกับภาษี กฎหมายเกี่ยวกับการบัญชีและสอบบัญชี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

 สินทรัพย์ทางปัญญา การกู้ยืมเงิน เช่าซื้อ การจำนอง การจำนำตามกฏหมายเพื่อทำบัญชีได้อย่างถูกต้องตามกฏหมายเกี่ยวข้องกับวิชาชีพทางบัญชี

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) ที่ใช้ในปัจจุบัน จำเป็นต้องปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด (5 ปี) ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และ เพื่อพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย รองรับความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลกระทบต่อการศึกษาและตอบสนองความต้องการบุคลากรด้านวิชาชีพบัญชีของภาคธุรกิจใน 17 จังหวัดภาคเหนือ และประเทศ
เพื่อให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ อดทน ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

  1. คำอธิบายรายวิชากฎหมายเกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

ศึกษากฎหมายที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรมทางทรัพย์สินทางปัญญา กฏหมายที่เกี่ยวกับการจัดการองค์กรธุรกิจด้านนิติบุคคล  พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อ

มูลและการออกหลักทรัพย์การเสนอขายกลักทรัพย์  การกำกับควบคุม และกฏหองมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีเช่น พระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี เป็นต้น

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย :

45ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา

สอนเสริม :

สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :การศึกษาด้วยตนเอง :

6 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- จัดสอนเพิ่มเติมให้นักศึกษาตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะรายและข้อตกลงของกลุ่มเรียน

- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

(เฉพาะรายที่ต้องการ) ห้องพักอาจารย์ ตึกห้อง418

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

  1. คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

       นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งจรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่กับผู้อื่น

ในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะและทำคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม

มีความระมัดระวังในการใช้ความรู้  ทักษะทางวิชาชีพ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

และการพัฒนาประเทศเพื่อให้เกิดความยั่งยืนนักศึกษาควรมีจริยธรรมต่อไปนี้

                1) มีความรู้ ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ

               2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและสังคม

               3) สามารถบริหารเวลา ปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม และปฏิบัติตามข้อตกลงการเรียนได้

               4) มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม

                 1.2  วิธีการสอน

                        1) กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตามเวลาที่กำหนด

2) บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับจรรยาบรรณของนักบัญชี และความสำคัญของการรักษาจรรยาบรรณวิชาชีพ พร้อมยกตัวอย่าง

1) กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตามเวลาที่กำหนด

2) บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับจรรยาบรรณของนักบัญชี และความสำคัญของการรักษาจรรยาบรรณวิชาชีพ พร้อมยกตัวอย่าง

1.3 วิธีการประเมินผล

1) ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับ1การเรียน ตลอดภาคการศึกษา ให้คะแนน 10%

2) สังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมาย

3) ประเมินจากการทุจริตในการสอบ

4) ประเมินผลจากการสอบ โดยทดสอบความรู้และความเข้าใจหลักการจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี

2. ความรู้2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี

2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์

4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการและวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

2.2 วิธีการสอน

1) การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน

2) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารทางการบัญชีจากสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง และนำมาบันทึกบัญชีตามวงจรการบัญชี รวมทั้ง ถาม-ตอบในชั้นเรียน

1) การบรรยายและฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน

2) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารทางการบัญชีจากสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง และนำมาบันทึกบัญชีตามวงจรการบัญชี รวมทั้ง ถาม-ตอบในชั้นเรียน

2.3 วิธีการประเมินผล

1) จากการทำแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา และงานที่มอบหมายให้ทำ

2) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

3. ทักษะทางปัญญา3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

1) สามารถสืบค้น ประมวลข้อมูล หลักฐาน แนวคิดต่างๆ ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาได้ด้วยตนเอง

2) สามารถประยุกต์ ความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจด้านกฏหมายที่เกี่ยวช้องกับวิชาชีพบัญชี

3) สามารถติดตาม ประเมินผล และสรุปรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน

3.2 วิธีการสอน

1) ทำแบบฝึกหัดโดยใช้โจทย์ปัญหาค่อนข้างซับซ้อน

2) การอภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับกรณีศึกษาและนำเสนอ

3) มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

1) ทำแบบฝึกหัดโดยใช้โจทย์ปัญหาค่อนข้างซับซ้อน

2) การอภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับกรณีศึกษาและนำเสนอ

3) มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

3.3 วิธีการประเมินผล

1) ผลงานกลุ่ม

2) การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ วัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี

3) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมงาน

4) มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง

4.2 วิธีการสอน

1) มอบหมายให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเป็นกลุ่ม

2) มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

1) มอบหมายให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเป็นกลุ่ม

2) มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

4.3 วิธีการประเมินผล

1) ประเมินผลจากกรณีศึกษา / ผลงานกลุ่ม

2) ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกในกลุ่ม

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงมาตรากฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีที่ต้องพัฒนา

1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์มาตรากฏหมายทางบัญชีเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปล ความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง

2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกันในมาตรากฏหมายที่เกี่ยวกับวิชาชีพบัญชี

3) สามารถเลือกใช้มาตรากฏหมาย และเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และ สื่อสารด้านกฎหมายในการแก้ปัญหา ได้

5.2 วิธีการสอน

1) จัดกลุ่มวิเคราะห์กรณีศึกษาในมาตรากฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
2) มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน

 

1) จัดกลุ่มวิเคราะห์กรณีศึกษา
2) มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน

 

5.3 วิธีการประเมินผล

1) การนำเสนองานกลุ่มหน้าชั้นเรียน
2) การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค

 

6. ด้านทักษะพิสัย

6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

-

6.2 วิธีการสอน

-

-

6.3 วิธีการประเมินผล

-

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา

คุณธรรมจริยธรรม

ความรู้

ทักษะทางปัญญา

ทักษะความคิดสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ลำดับ

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

1

2

3

4

1

2

3

4

1

2

3

1

2

3

4

1

2

3

1

BACAC113

กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

   

   

     

   

0

  0

 0

 

 

หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่ 1หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 1แนะนำรายวิชาและข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมายทั่วไป ความรู้และลักษณะความสำคัญทางธุรกิจตามพระราชบัญญัติการบัญชี และกฏหมายสำคัญต่อธุรกิจพระราชบัญัญัติการบัญชีและกฏหมายทางธุรกิจและนิติบุคคล ที่มาของกฏหมายระบบกฏหมาย ประเภทลำดับศักดิ์การบังคับตีความ การอุดช่องว่างแห่งกฏหมาย พระราชบัญญิติวิชาชีพบัญชีและทรัพย์สินทางปัญญา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเปิดเผยมีธรรมาภิบาล

จำนวนชั่วโมง: 3ชั่วโมง

กิจกรรม

บรรยายกรณีศึกษาจริงความรู้เบื้องต้นเกียวกั่บกฏหม่ายทั่วไปหนัวสือแบบเรียนและ สื่อ Power Point

สัปดาห์ที่ 2หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 2 ความหมาย ความสำคัญบุคคล ทรัพย์และทรัพย์สินความหมายและประเภทบุคคล บุคคธรรมดา ส่วนประกอบของสภาพบุคคล นิติบุคคล การเกิดและการดำเนินงานของนิติบุคคล การเกิดและความหมายทรัพย์สิน ประเภทส่วนปรกอบประเภทของทรัพย์สินกรรมสิทธิ์และการใช้กรรมสิทธิ์สิทธิหน้าที่ของนิ่ติบุคคล ผู้แทนนติบุคคล การสิ้นสุด ของนิติบุคคล

จำนวนชั่วโมง: 3 วโมง

กิจกรรม

บรรยายกรณีศึกษาจริงบุคค ทรัพย์และ ทรัพย์สิน Power Point

สัปดาห์ที่ 3หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 3 นิติกรรมและสัญญา หนี้ ละเมิดสัญญาซื้อขาย ขายผาก ขายทอดตลาด แลกเปลี่ยนให้เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ ความหมายหนี้ลักษณะของหนี้ เจาหนี้ผิดนัด ละเมิด ความหมายของละเมิดการกระทำ ละเมิด ความหมายการหมิ่นประมาทการจัดการตามสั่ง หน้าที่ผู้จัดการนอกสั่ง ลาภมิควรได้ความสำคัญทรัพย์ไม่มีสิทธิ เรียกคืน อายุความ

จำนวนชั่วโมง: 3ชั่วโมง

กิจกรรม

บรรยายถาม ตอบกรณีศึกษาจริง โจทย์ ปัญกาอลัสื่อ Power Point

 

 

 

 

 

สัปดาห์ที่ 4หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 4 ซื้อขาย ขายฝาก ขายทอดตลาดและเปลี่ยนให้เช่าพรัพย์ เช่าซื้อ ความหมายของสัญญาซื้อขาย ลักษณะสำคัญ ประเภทของสัญญาซื้อขายแบบของสัญญา ความหมายของขายฝาก แบบของสัญญาขายทอดตลาดมีความหมาย ความรับผิดชอบของผู้ซื้อทรัพย์สินจาการขายทอดตลาดให้ ความหมายของสัญยาความรับผิดชอบการทอดตลาด

จำนวนชั่วโมง:3ชั่วโมง

กิจกรรม

บรรยายและกรณีศึกษาจริงสัญญาขายฝากการเช่าทรัพย์การเช่าซื้อ การขายทอดตลาด ความรับผิดชอบในสิทธิการถอนคืน หนังสือแบบเรียน สื่อการสอน Power Point

สัปดาห์ที่ 5หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 4 จ้างแรงงาน จ้างทำของรับขน เก็บของในคลังสินค้า กฏหมายคุ้มครองแรงงานสั สัยญาจ้างแรงงาน ลักษณะสำคัญสิทธิและหน้ บทที่ 5 ของนายจ้าง อายุความ การขนโดยสารการบังคับใช้กฏหมาย การจ่ายเงินค่าชดเชยนายจ้างที่ฝ่าฝืนกฏหมายแรงงาน กรณีนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยความรับผิดในการฝ่าฝืนกฏหมาย แรงงาน

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง

กิจกรรม

บรรยายกรณีศึกษาจริงมีการถามตอบแก้ปัญหา มีแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน สื่อ Power Point ปัญหาในกรณีศึกษายกตัวอย่าง

สัปดาห์ที่ 6หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 5 การค้ำประกัน บทที่ 6 ความหมายของสัญญาค้ำประกันลักษณะสำคัญแบบของสัญญาค้ำประกัน หนี้ในอนาคต สัญญาค้ำประกันต้องระบุหนี้เงื่อนไขก็ค้ำประกันได้ หนี้ที่ไม่ผูกพันลูกหนี้ความรับผิดของผู้ค้ำประกันการไล่เบี้ย ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาค้ำประกัน

จำนวนชั่วโมง: 3ชั่วโมง

กิจกรรม

บรรยายถาม ตอบและทำแบบฝึกหัสืดท้ายบทเรียน โจทย์ปัญหาในกรณีศึกษาแก้ปัญหาและ สื่อ Power Point

สัปดาห์ที่ 7หัวข้อ/รายละเอียด

 

บทที่ 7 การจำนอง การจำนำ อายุความ หนี้ที่ไม่ผูกพันลูกหนี้ความรับผิดของผู้ค้ำประกันการไล่เบี้ย ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาค้ำประกัน

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง

กิจกรรม

บรรยายถามตอบแก้ปัญหากรณีศึกษา แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน สื่อ Power Point

สัปดาห์ที่ 8หัวข้อ/รายละเอียด

สอบกลางภาค

จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง

กิจกรรม

 

สัปดาห์ที่ 9หัวข้อ/รายละเอียด

บทที่ 7

รายวิชา - กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

อาจารย์ผู้สอน