รายละเอียด

การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี / Business Finance for Accountant

  • 0 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BACAC122
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Business Finance for Accountant
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2561

รายละเอียด

หลักสูตรที่ใช้ มคอ.3 เล่มนี้

ลำดับ

เล่มหลักสูตร

สถานะ

วันที่ตรวจสอบ

1

บัญชีบัณฑิต

รอตรวจสอบ

 

2

บัญชีบัณฑิต

รอตรวจสอบ

 
       

หมวดที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1.รหัสและชื่อรายวิชา

รหัสรายวิชา BACAC122

ชื่ออรายวิชาภาษาไทย การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี

ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Business Finance for Accountant

2.จำนวนหน่วยกิต3( 3 - 0 - 6 )

3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา2 หลักสูตร

4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์จุฑามาศ พึ่งอ่อน

5.ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียนภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 2561

6.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)

การบัญชีชั้นต้น หรือ การบัญชีการเงิน

7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)

8.สถานที่เรียนตาก มทร.ล้านนา ตาก

9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุดประเภท :มคอ.3เขตพื้นที่ :ตาก

ปีการศึกษา :2561เทอมการศึกษา :2

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี เทคนิคและวิธีการของระบบสารสนเทศ การควบคุมภายในที่สำคัญ หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ แนวคิดในการจัดทำรายงานเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจ การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางบัญชี วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรเงินเดือนและค่าแรง วงจรการบริหารเงิน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในแต่ละวงจร ทางเดินเอกสารและสารสนเทศทางการบัญชีที่เกี่ยวข้อง

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ศึกษาเป็นพื้นฐานทางด้านการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศกับงานบัญชี และพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ต้องนำมาใช้กับงานบัญชีซึ่งเป็นสิ่งที่นักบัญชีไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และระบบบัญชีเป็นระบบที่ทำงานอยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส่วนสารสนเทศจะถูกจัดเก็บอยู่ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งในโลกปัจจุบันสามารถใช้อุปกรณ์นำข้อมูลเข้าที่ทันสมัยมาใช้ในการเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ใช้คอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล และสามารถนำเสนอข้อมูลที่ทันสมัยที่สุดแก่ผู้ใช้ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ดังนั้นนักศึกษาจะสามารถประยุกต์และสามารถใช้ระบบสารสนเทศที่เชื่อมกับการทำงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร มีฐานข้อมูลที่สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งองค์กร

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี เทคนิคและวิธีการของระบบสารสนเทศ การควบคุมภายในที่สำคัญ หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ แนวคิดในการจัดทำรายงานเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจ การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางบัญชี วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรเงินเดือนและค่าแรง วงจรการบริหารเงิน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในแต่ละวงจร ทางเดินเอกสารและสารสนเทศทางการบัญชีที่เกี่ยวข้อง

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย :

45 ชั่วโมง

สอนเสริม :

สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :

ไม่มีการฝึกปฏิบัติ

การศึกษาด้วยตนเอง :

การศึกษาด้วยตนเอง

6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขา

- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

(เฉพาะรายที่ต้องการ)

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งจรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่กับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะและทำคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม มีความระมัดระวังในการใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศเพื่อให้เกิดความยั่งยืน นักศึกษาควรมีจริยธรรมดังต่อไปนี้

  1.  
  2.  
  3. มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
  4. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
  5. สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
  6. มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม

1.2 วิธีการสอน

  1.  
  2. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน
  3. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
  4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
  5. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษาจากงานวิจัยที่ไปนำเสนอเรื่อง“The Effect of Accounting Information System Quality in the Effectiveness of Internal Control and Reliable Decision Making to Enhance the Performance of Thai Industrial Firms” เพื่อให้นักศึกษาได้เห็นถึงผลงานจริงว่าระบบสารสนเทศทางการบัญชีในยุคปัจจุบันสำคัญมากกับองค์กร
  6.  
  7. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน
  8. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
  9. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
  10. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษาจากงานวิจัยที่ไปนำเสนอเรื่อง“The Effect of Accounting Information System Quality in the Effectiveness of Internal Control and Reliable Decision Making to Enhance the Performance of Thai Industrial Firms” เพื่อให้นักศึกษาได้เห็นถึงผลงานจริงว่าระบบสารสนเทศทางการบัญชีในยุคปัจจุบันสำคัญมากกับองค์กร

1.3 วิธีการประเมินผล

1.3.1 ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม

1.3.2 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ

1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

1.3.4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน

2. ความรู้2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

  1.  
  2.  
  3. มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
  4. มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
  5.  
  6.  
  7. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
  8.  
  9.  
  10. สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

2.2 วิธีการสอน

  1.  
  2.  
  3. ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
  4.  
  5.  
  6. การถาม-ตอบ ปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
  7. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ
  8. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
  9. ใช้กรณีศึกษาจากงานวิจัยจริงจากการไปนำเสนอที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ของผู้สอน คือ ดร.กัญฐณา (ณิชากร) ดิษฐ์แก้ว เรื่อง“The Effect of Accounting Information System Quality in the Effectiveness of Internal Control and Reliable Decision Making to Enhance the Performance of Thai Industrial Firms” เพื่อให้นักศึกษาได้เห็นถึงผลงานจริงว่าระบบสารสนเทศทางการบัญชีในยุคปัจจุบันสำคัญมากกับองค์กร
  10.  
  11.  
  12. ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
  13.  
  14.  
  15. การถาม-ตอบ ปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
  16. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ
  17. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
  18. ใช้กรณีศึกษาจากงานวิจัยจริงจากการไปนำเสนอที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ของผู้สอน คือ ดร.กัญฐณา (ณิชากร) ดิษฐ์แก้ว เรื่อง“The Effect of Accounting Information System Quality in the Effectiveness of Internal Control and Reliable Decision Making to Enhance the Performance of Thai Industrial Firms” เพื่อให้นักศึกษาได้เห็นถึงผลงานจริงว่าระบบสารสนเทศทางการบัญชีในยุคปัจจุบันสำคัญมากกับองค์กร

2.3 วิธีการประเมินผล

  1.  
  2.  
  3. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงานการค้นคว้า และการนำเสนอ
  4. การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือการสอบปฏิบัติ
  5. การประเมินผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริง หรือ การฝึกงานในองค์กรธุรกิจ
  6. การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต

3. ทักษะทางปัญญา3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

3.1.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง

3.1.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่าง

สร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ

3.1.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน

3.2 วิธีการสอน

3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์

จำลอง

3.2.2 จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา

3.2.3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษา ศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น

3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์

จำลอง

3.2.2 จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา

3.2.3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษา ศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น

3.3 วิธีการประเมินผล

3.3.1 ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย

3.3.2 ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา

3.3.3 ประเมินจากรายงายผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

4.1.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี

4.1.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน

4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง

4.2 วิธีการสอน

4.2.1 มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน

4.2.2 มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น

4.2.3 ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ

4.2.1 มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน

4.2.2 มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น

4.2.3 ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ

4.3 วิธีการประเมินผล

4.3.1 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน

4.3.2 ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน

4.3.3 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน

5.

รายวิชา - การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี

อาจารย์ผู้สอน