รายละเอียด

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / Computer Programming (Python Language)

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 41 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 2 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGCC304
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Computer Programming (Python Language)
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เวลาเรียน ท. 2 คาบ ป. 3 คาบ นอกเวลา 3 คาบ ต่อสัปดาห์

 

ระดับคะแนน

คะแนน          ระดับคะแนน(เกรด)
80 - 100 4.0
75 - 79 3.5
70 - 74 3.0
65 - 69 2.5
60 - 64 2.0
55 - 59 1.5
50 - 54 1.0
0 - 49 0.0

คำชี้แจงเฉพาะภาคเรียนที่ 1/2563

เนื่องจากไวรัสโควิต-19 อาจจะยังทำให้ไม่สามารถเข้าเรียนพร้อมกันในห้องเรียนได้ทั้งหมด ในเบื้องต้นขอให้นักศึกษา เข้ากลุ่มไลน์ ENGCC304_SE(ตามรายละเอียดที่ให้ไว้)

ภาคเรียนที่  1/63 นศ.สาขาอื่น(ไม่ใช่ วศบ.คอมพิวเตอร์) ใช้ภาษาไพธอน เครื่องมือเขียนโปรแกรม => google colab, spyder, visual studio code


 


                                              

 

 

รายวิชา - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 1  คอมพิวเตอร์พื้นฐาน

  • ระบบคอมพิวเตอร์
  • ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
  • โปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • ภาษาและตัวแปลภาษา

บทที่ 2 ตัวแปรและการคำนวณทางคณิตศาสตร์

  • ตัวแปร และกำหนดค่า
  • นิพจน์ และเครื่องหมายคณิตศาสตร์
  • ชนิดข้อมูล
  • คำสั่งตรวจสอบ,แปลงชนิดข้อมูล

บทที่ 3  การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

  • ส่วนประกอบของโปรแกรม
  • คำสั่งอินพุต เอาต์พุต
  • คำสั่งประมวลผล
  • การเขียนหมายเหตุ

บทที่ 4  คำสั่งควบคุมแบบทางเลือก

  • คำสั่ง if   
  • คำสั่ง if…else
  • คำสั่ง if…elif … else

บทที่ 5  โครงสร้างชุดข้อมูล

  • ลิสต์
  • ทูเพิล
  • ดิกชันนารี

 

บทที่ 6 คำสั่งควบคุมการวนซ้ำ(ลูป)

  • คำสั่ง while       
  • โครงสร้างโปรแกรมแบบลูปซ้อน

บทที่ 6 คำสั่งควบคุมการวนซ้ำ(ต่อ)

  • คำสั่ง for
  • การใช้คำสั่ง for กับลิสต์

บทที่ 7 ฟังก์ชัน

  • การเรียกใช้งานฟังก์ชันมาตรฐาน
  • ฟังก์ชันของโมดูล Math, Random, Numpy

(สอบกลางภาคเรียน)

บทที่ 7 ฟังก์ชัน (ต่อ)

  • การเขียนฟังก์ชันของตนเอง

 

 

บทที่ 8 การเขียนโปรแกรมติดต่อไฟล์คอมพิวเตอร์ หลักการของพอยเตอร์

  • การอ่าน-เขียนไฟล์ตัวอักษร (text file)
  • การอ่าน-เขียนไฟล์เอ็กเซลล์ (excel file)

บทที่ 9 การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิ

  • การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแบบ
    ต่าง ๆ
  • การเลือกแผนภูมิให้เหมาะกับข้อมูล

บทที่ 10 การเขียนโปรแกรมประยุกต์กับงานวิศวกรรมศาสตร์

  • การแก้ปัญหาพีชคณิตด้วยไพธอน (กำดำเนินการกับโพลิโนเมียล จำนวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม และแคลคูลัส)

บทที่ 10 การเขียนโปรแกรมประยุกต์กับงานวิศวกรรมศาสตร์ (ต่อ)

  • การแก้ปัญหาพีชคณิตด้วยไพธอน (กำดำเนินการกับโพลิโนเมียล จำนวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม และแคลคูลัส)

บทที่ 10 การเขียนโปรแกรมประยุกต์กับงานวิศวกรรมศาสตร์ (ต่อ)

  • การแก้ปัญหาเมตริกซ์
  • การแก้ระบบสมการเชิงเส้น

ทบทวนและนำเสนอ อภิปรายงานที่มอบหมาย

(สอบปลายภาคเรียน)

อาจารย์ผู้สอน