โภชนาการ
Nutrition
1.1 เพื่อให้นักศึกษารู้คุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลต่างๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดอะมิโน โปรตีน กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ ฮอร์โมน และกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจชนิดและความสำคัญของสารอาหาร การย่อย และการดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความต้องการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหว่างการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ และอาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำการคำนวณคุณค่าทางอาหารไปใช้ได้
1.4 เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์สภาวะทางโภชนาการสำหรับบุคคลในภาวะต่างๆ ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจชนิดและความสำคัญของสารอาหาร การย่อย และการดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความต้องการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหว่างการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ และอาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำการคำนวณคุณค่าทางอาหารไปใช้ได้
1.4 เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์สภาวะทางโภชนาการสำหรับบุคคลในภาวะต่างๆ ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน
2.1 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ของรายวิชาเพิ่มเติมในส่วนคุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลต่างๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดอะมิโน โปรตีน กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ ฮอร์โมน และกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ของรายวิชาเพิ่มเติมในส่วนคุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลต่างๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดอะมิโน โปรตีน กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ ฮอร์โมน และกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย
ศึกษาคุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลต่างๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดอะมิโน โปรตีน กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ ฮอร์โมน และกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย ชนิดและความสำคัญของสารอาหาร การย่อย และการดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความต้องการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหว่างการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคำนวณคุณค่าทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสำหรับบุคคลในภาวะต่างๆ ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
Study on properties and structure of biomolecules including carbohydrates, lipids, amino acids, proteins, nucleic acids, enzymes, hormones and metabolic processes in the body; the type and importance of nutrients; digestion and absorption of nutrients; toxins in food nutrient and energy needs; changes in nutrients during processing; healthy food, nutrition labels, nutritional calculation, nutritional status for people in various conditions; symptoms and diseases caused by disorders of consumption.
Study on properties and structure of biomolecules including carbohydrates, lipids, amino acids, proteins, nucleic acids, enzymes, hormones and metabolic processes in the body; the type and importance of nutrients; digestion and absorption of nutrients; toxins in food nutrient and energy needs; changes in nutrients during processing; healthy food, nutrition labels, nutritional calculation, nutritional status for people in various conditions; symptoms and diseases caused by disorders of consumption.
3.1 วันอังคาร เวลา 15.00–17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร โทร.0-5529-8438 ต่อ 1188
3.2 E-mail. unnop_tas@rmutl.ac.th วันอังคาร เวลา เวลา 19.00–20.00 น.
3.2 E-mail. unnop_tas@rmutl.ac.th วันอังคาร เวลา เวลา 19.00–20.00 น.
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2 สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิต สาธารณะ
3. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4. มีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
5. ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
2 สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิต สาธารณะ
3. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4. มีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
5. ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
1. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ใช้การบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/CDIO: (Conceiving - Designing -Implementing –Operating) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรง มาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
1. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ใช้การบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/CDIO: (Conceiving - Designing -Implementing –Operating) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรง มาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. งานที่ได้มอบหมาย
5. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. งานที่ได้มอบหมาย
5. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/STEM Education
2. มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จัก วิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมุติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
3. มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อมอภิปราย
4. การอภิปรายกลุ่มจากผลการปฏิบัติ
5. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
2. มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จัก วิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมุติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
3. มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อมอภิปราย
4. การอภิปรายกลุ่มจากผลการปฏิบัติ
5. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
1. บทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง
2. การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. บทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง
2. การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1 ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา (Problem Base Learning) ในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
3. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น รายงานบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา (Problem Base Learning) ในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
3. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น รายงานบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การตอบข้อซักถามของอาจารย์ และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรม Active Learning/Flipped Classroom
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง เช่น
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
4. จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
4. จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ | 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต | 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ | 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป | 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ | 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ | 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา | 4.1 ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม | 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ | 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ | 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ | 5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด | 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม | 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม |
1 | BSCFT013 | โภชนาการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม | - จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การส่งงานตรงเวลา - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย - ความมีน้ำใจต่อเพื่อนและคณาจารย์ | ทุกสัปดาห์ | 10% |
2 | 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | - การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 1-4) - ไม่ทุจริตในการสอบ | 9 | 35% |
3 | 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | - การสอบปลายภาค (หน่วยที่ 5-8) - ไม่ทุจริตในการสอบ | 18 | 35% |
4 | 4.1 ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | - การนำเสนองาน/งานมอบหมาย | 17 | 20% |
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2553. อาหารและโภชนาการ: การป้องกันและบำบัดโรค. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 225 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2555. อาหารเพื่อสุขภาพ: สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 181 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2555. อาหารเพื่อสุขภาพ: สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 181 หน้า.
มาตรฐานและกฎหมายอาหารต่าง ๆ
- เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย.
- วารสารอาหาร, Journal of Food Science และ Journal of Food Technology หรือวารสารอื่น ๆ ในฐานข้อมูล scopus หรือ sciencedirect
- วารสารอาหาร, Journal of Food Science และ Journal of Food Technology หรือวารสารอื่น ๆ ในฐานข้อมูล scopus หรือ sciencedirect
1.1 แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาจากหลักสูตร ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
2.1 หลักสูตรแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนรายวิชา โดยมีหัวหน้าหลักสูตร ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน
2.2 ทำการประเมินทุกรายวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ซึ่งอาจบรรจุเป็นวาระในการประชุมหลักสูตร
2.2 ทำการประเมินทุกรายวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ซึ่งอาจบรรจุเป็นวาระในการประชุมหลักสูตร
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ๆ ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมินจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ๆ ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมินจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
4.1 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน วิธีการ/เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน และปัญหาอุปสรรค
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5
5.2 สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมหลักสูตร เพื่อพิจารณาต่อไป
5.2 สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมหลักสูตร เพื่อพิจารณาต่อไป