เศรฐศาสตร์สำหรับการจัดการพลังงาน

Economics for Energy Management

1.1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถแสดงขั้นตอน การวิเคราะห์/ตัดสินใจเพื่อเลือกดำเนินโครงการด้านพลังงาน โดยการประยุกต์ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ได้
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายกฏหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน พร้อมทั้งสามารถแสดงการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ในอาคารหรือโรงงานได้
2.1 เพื่อสรรหากรณีศึกษาจริงที่ทันสมัย และปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้ทันสัย
ศึกษาการวิเคราะห์ต้นทุนเชิงเศรษฐศาสตร์ การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาคในงานวิศวกรรม การวิเคราะห์และตัดสินใจโครงการโดยคำนึงถึงหลักเศรษฐศาสตร์และการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางเศรษฐศาสตร์ กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานในอาคารและโรงงาน การวิเคราะห์การใช้พลังงานในอาคารและโรงงาน เปรียบเทียบและประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ของระบบจัดการพลังงานในอาคารและโรงงาน เพื่อการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีหรือกระบวนการจัดการพลังงาน
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ขึ้นอยู่กับการขอของนักศึกษา
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.5 สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 อธิบายความสำคัญและผลกระทบเนื่องจาก การมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม พร้อมกับตกลงเงื่อนที่ต้องกระทำร่วมกัน
1.2.2 แนะนำให้แต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย และอธิบายความสำคัญ
1.2.3 มอบหมายการทำงานกลุ่ม ฝึกให้รู้หน้าที่ของตน มีสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามตามงานต่างๆที่มอบหมาย สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.4 คอยควบคุมดูแล ไม่กระทำการทุจริตในการสอบ การบ้าน การทำงานที่มอบหมายต่างๆ รู้จักการให้เครดิตผลงานของผู้ร่วมงาน พร้อมทั้งตั้งเงื่อนไขลงโทษร่วมกันเมื่อทำการทุจริต
1.2.5 ให้อธิบายผลกระทบของการรับผิดชอบงานตอนเองต่อภาพรวมของงานกลุ่ม
1.3.1 ให้คะแนนจากการ เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน ความตรงต่อเวลาเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่มอบหมาย ความรับผิดชอบงานเฉพาะบุคลเมื่อทำงานกลุ่ม
1.3.2 ให้คะแนนจากการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.3.3 ให้คะแนนการทำงานกลุ่ม โดยประเมินจากคะแนนการทำหน้าที่ การรับผิดชอบเฉพาะคน การมีสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม การแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.3.4 ตัดคะแนนตามความรุนแรงของ การกระทำการทุจริต ด้านการสอบ การคัดลอกงาน/การบ้าน การละเมิดผลงานของผู้ร่วมงาน
1.3.5 ให้คะแนนจากผลสำเร็จของงานกลุ่ม ที่เกิดจากงานเฉพาะบุคคลที่ส่งผลต่อผลของงานกลุ่ม
2.1.1 การวิเคราะห์ต้นทุนเชิงเศรษฐศาสตร์
2.1.2 การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาคในงานวิศวกรรมในตัวอย่าง แบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา
2.1.3 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางเศรษฐศาสตร์
2.1.4 กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานในอาคารและโรงงาน
2.1.5 การระบุหรือคำนวนการใช้พลังงานในอุปกรณ์ต่างๆ ในอาคารและโรงงาน 
2.2.1 อธิบาย ถามด้วยปากเปล่าตลอดช่วงการออธิบาย แสดงวิธีการคำนวน มอบหมายตัวอย่างให้นักศึกษาได้ทำด้วยตนเอง
2.2.2 มอบหมายการบ้านหลังการสอนทุกคาบเรียน
2.2.3 สอบย่อย
2.3.1 ประเมินจากคะแนนจากการส่งการบ้าน
2.3.2 ประเมินจากความถูกต้องในการแสดงวิธีการกำหนดตัวแปร การเลือกใช้สมการ ใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหา
3.1.1 การวิเคราะห์และตัดสินใจ เลือกโครงการโดยคำนึงถึงหลักเศรษฐศาสตร์
3.1.2 การปรียบเทียบ วิเคราะห์ และประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ของระบบจัดการพลังงานในอาคารและโรงงาน เพื่อการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีหรือกระบวนการจัดการพลังงาน
3.2.1 อธิบาย ถามด้วยปากเปล่าตลอดช่วงการออธิบาย แสดงวิธีการคำนวน มอบหมายตัวอย่างให้นักศึกษาได้ทำด้วยตนเอง
3.2.2 มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษา ค้นหากรณีศึกษาที่นักศึกษาสนใจ ให้แบ่งหน้าที่กันอย่างเป็นธรรม
3.3.1 คะแนนความสร้างสรรค์ของงานที่นักศึกษาค้นคว้า ว่าต่างจากตัวอย่างในห้องเรียนแค่ไหน
3.3.2 คะแนนจาการ แสดงจุดประสงค์ของงาน ขั้นตอนการดำเนินการหรือการแก้ปัญหา ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนด
3.3.3 ความถูกต้องในการประยุกต์ให้หลักการด้านเศรษฐศาสตร์แก้ไขปัญหากรณีศึกษา
4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นาและผู้ตาม 
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ 
4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มสามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น
4.2.1 มอบหมายงานและค้นคว้าโดยทำเป็นกลุ่ม
4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
4.3.1 ประเมินจากปริมาณงานเท่าเท่าเทียมกัน
4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายด้วยความเข้าใจ ไม่อ่านเนื้อหา การสนับสนุนกันเป็นทีมเพื่อตอบคำถามระหว่างการอภิปลาย
4.3.3 ประเมินจากความสัมพันธ์และความสอดคล้องของงานส่วนบุคคล ไปยังงานกลุ่ม
5.1.1 มีทักษะการลำดับการกดเครื่องคิดเลขเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง
5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์แก้ไขปัญหาตามสมการที่กำหนดได้
5.1.3 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยแก้สมการที่ซับซ้อน หรือสมการที่มีปริมาณการคำนวณเยอะได้
5.1.4 สามารถเลือกสื่อการนำเสนอที่แสดงสิ่งที่ต้องการจะสื่อได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 ให้นักศึกษาทุกคนกดเครื่องคิดเลขพร้อมกันเพื่อหาคำตอบในโจทย์ที่กำหนดในงาน การบ้าน หรือสอบย่อย แล้วเทียบคำตอบกับเพื่อนกับผู้สอน ในกรณีที่ใครได้คำตอบไม่ตรงให้ขอคำชี้แนะจากเพื่อหลักเลิกเรียน
5.2.2 แสดงวิธีการคำนวณอย่างเป็นขั้นตอน
5.2.3 แสดงการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยแก้สมการที่ซับซ้อน หรือสมการที่มีปริมาณการคำนวณเยอะให้นักศึกษาดูเป็นตัวอย่าง
5.2.4 แนะนำสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับการเลือกสื่อที่จะนำเสนอพร้อมบอกเหตุผล
5.3.1 ความถูกต้องของการคำนวณหาคำตอบ
5.3.2 การแสดงขั้นตอนการคำนวณอย่างเป็นระเบียบ มีที่มาที่ไปของคำตอบ
5.3.3 ความถูกต้องในการหาคำตอบด้วยคอมพิวเตอร์
5.3.4 ความเข้าใจของเพื่อนในชั้นเรียนในงานของผู้นำเสนอ โดยการสุ่มถามความถูกต้องผู้ฟัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล