การดูแลระบบยูนิกซ์

Unix System Administration

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการติดตั้งระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ คำสั่งยูนิกซ์แบบพื้นฐาน การ ประมวลผลแบบเท็กซ์ การบริหารจัดการระบบบัญชีผู้ใช้ การติดตั้งโปรแกรมแอพพลิเค ชัน การกำหนดตั้งค่าระบบเครือข่าย การบังคับใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยขั้น พื้นฐาน บริการบนเว็บแบบต่างๆ ที่ใช้งานบนยูนิกซ์ได้แก่ NIS, โควตา, ที่เก็บข้อมูล เครือข่าย, และการจัดการดิสก์ Study and practice of the installation of Unix operating systems, basic Unix commands, text processing, managing user accounts, installation of applications, configuring network system, enforcing basic security measures, various web-based services on Unix, such as NIS, quota, network storage, and disk management.
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการติดตั้ง บริหารจัดการ และดูแลระบบปฏิบัติการยูนิกซ์อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดการผู้ใช้งาน ระบบเครือข่าย และมาตรการรักษาความปลอดภัยเบื้องต้น พร้อมใช้งานบริการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบยูนิกซ์ในระดับองค์กร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการติดตั้งระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ คำสั่งยูนิกซ์แบบพื้นฐาน การ ประมวลผลแบบเท็กซ์ การบริหารจัดการระบบบัญชีผู้ใช้ การติดตั้งโปรแกรมแอพพลิเค ชัน การกำหนดตั้งค่าระบบเครือข่าย การบังคับใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยขั้น พื้นฐาน บริการบนเว็บแบบต่างๆ ที่ใช้งานบนยูนิกซ์ได้แก่ NIS, โควตา, ที่เก็บข้อมูล เครือข่าย, และการจัดการดิสก์
1
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในดูแล จัดการเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครือข่ายต่อบุคคลองค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น การลักลอบข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และการเข้าใช้เครือข่ายโดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต การป้องกันตนเอง อภิปรายกลุ่ม

กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
 

อธิบายวิวัฒนาการและโครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Unix/Linux ได้ ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Unix/Linux ได้อย่างถูกต้อง ใช้งานคำสั่งพื้นฐานของ Unix เพื่อจัดการไฟล์และระบบได้ สืบค้นและใช้งานคำสั่งด้วย CLI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดการบัญชีผู้ใช้งาน กลุ่ม และสิทธิการเข้าถึงไฟล์ได้ เขียนสคริปต์พื้นฐานสำหรับการทำงานอัตโนมัติได้ กำหนดค่าและดูแลระบบเครือข่ายใน Unix ได้ ติดตั้งและบริหารโปรแกรมและบริการต่าง ๆ บน Unix เช่น NIS, Quota, NFS นำมาตรการรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐานมาใช้กับระบบ Unix ได้ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาพื้นฐานในระบบ Unix ได้
บรรยาย อภิปราย สาธิต กำหนดทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การศึกษาโดยใช้ปัญหา และการจำลองสถานการณ์ด้วยซอฟแวร์แบบจำลอง สร้างServer สำหรับให้บริการบนระบบเครือข่าย โดยจำลองการเชื่อมต่อเข้าระบบเครือข่ายจากคอมพิวเตอร์โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการออกแบบและจำลองการทำงานของเครือข่ายด้วยซอฟแวร์แบบจำลองตามเงื่อนไขที่กำหนดและการสร้างserver ให้บริการบนระบบเครือข่าย
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
การมอบให้นักศึกษาทำใบงาน
3.2.2 สาธิตจากแบบจำลองในปัญหารูปแบบต่างๆ
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการสถานการณ์ที่เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบแต่ละใบงาน ด้วยการลงมือสร้างแบบจำลอง เป็นรายบุคคล โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
4.2.1 จัดกลุ่มในการใบงานและวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี UNIX หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน 
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
CISCO ACADEMY
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ