เทคโนโลยีการผลิตพืชสวนประดับเพื่อการค้า

Ornamental Horticulture Production Technology

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวนประดับ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชสวนประดับที่สำคัญทางเศรษฐกิจ การตลาดในประเทศและต่างประเทศ ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิต เทคนิคการปลูกและการดูแลรักษาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ การวางแผนการผลิตและการตลาด การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มอัตราการผลิตการขยายพันธุ์ การจัดการโรงเรือนและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว วัสดุปลูกและภาชนะปลูกที่เหมาะสมในการขนส่งเชิงพาณิชย์ การบรรจุหีบห่อ รูปแบบการขนส่ง
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเห็นถึงความสำคัญของพืชสวนประดับ เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงสถานการณ์การผลิตไม้ประดับเพื่อการค้าในปัจจุบัน ที่จำหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์กระแสการใช้ประโยชน์ของพืชสวนประดับแต่ละชนิดได้ เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงกระบวนการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชสวนประดับ ตั้งแต่การวางแผนการผลิต การเตรียมวัสดุปลูก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเติบโตของพืช การจัดการโรงเรือนและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การบรรจุหีบห่อ ตลอดจนถึงการขนส่งและเก็บรักษาที่ทันสมัยตามยุคที่เปลี่ยนไป
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวนประดับ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชสวนประดับที่สำคัญทางเศรษฐกิจ การตลาดในประเทศและต่างประเทศ ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิต เทคนิคการปลูกและการดูแลรักษาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ การวางแผนการผลิตและการตลาด การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มอัตราการผลิตการขยายพันธุ์ การจัดการโรงเรือนและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว วัสดุปลูกและภาชนะปลูกที่เหมาะสมในการขนส่งเชิงพาณิชย์ การบรรจุหีบห่อ รูปแบบการขนส่ง
          Study and practice of the importance and benefits of ornamental plants, botanical characteristics, economically important ornamental plants, marketing in domestic and abroad, factors affecting the production, cultivation techniques and management for production quality, production planning and marketing, technologies for increases production rate, propagation, greenhouse management and maintenance, growing media and containers to be safe for commercial logistics, packaging, transportation
1. ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรมซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
 ™ 2. มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
1. เน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. นักศึกษาต้องมีความ
รับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 3. มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
4. สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนรวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
 
1.ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
2. ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5. ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
6. ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
˜ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง    
 2. มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. เน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา
™ 1. มีทักษะในการคิดวิเคราะห์
อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
2. มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3. แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
1. ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า
3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
1. กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้
อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
™ 2. มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อมและสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
 
 1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
 3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
 5. มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 6. สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น
เรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
1. ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
™ 2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง
2. นำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
3. การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1. มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
วิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1. การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
1. ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
2. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
3. ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG662 เทคโนโลยีการผลิตพืชสวนประดับเพื่อการค้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 การเข้าชั้นเรียน พฤติกรรมในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น 1-17 5
2 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 และ 11 รายงานผลการปฏิบัติการที่ได้รับมอบหมาย ความรับผิดชอบในการทำงาน 1-8 และ 10-16 10
3 1, 2, 6, 7 และ 8 ทดสอบย่อย 4 และ 6 30%
4 3, 4 และ 5 สอบกลางภาค 9 20%
5 9, 10, 11 และ 12 สอบปลายภาค 17 25%
6 12 การนำเสนอผลการผลิตไม้ดอกเพื่อการค้า 16 10%
บุณฑริกา นันทา. เอกสารคำสอน ชุดวิชา 93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ (Flowering and Ornamental      Plant Production Management) หน่วยที่ 7 การจัดการการผลิต ไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการจัดภูมิทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 43 น.
LibreTexts Biology. 1.1: What is horticulture?.           https://bio.libretexts.org/Bookshelves/Botany/The_Science_of_Plants_-          _Understanding_Plants_and_How_They_Grow_(Michaels_et_al.)/01%3A_Plants_in_our_     Lives/1.01%3A_What_is_horticulture
true ปลูกปัญญา. 2560. ความหมายของไม้ดอกไม้ประดับ และการจำแนกประเภท.           https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/58082#google_vignette
 
MGRONLINE. 2568. กรมพัฒน์วิเคราะห์ธุรกิจไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ยืนต้น เห็นแววรุ่ง.           https://mgronline.com/business/detail/9680000027601#google_vignette
 
SIRIWAN LANDSCAPE ENGINEERING. - ไม้ใบคืออะไร -
          . https://siriwangroup.com/foliage-plants/
 
TNN Exclusive. 2025. เมื่อไม้ดอก-ไม้ประดับ เติบโตเป็นเสาหลักเศรษฐกิจใหม่.           https://www.tnnthailand.com/tnnexclusive/193354/#google_vignette
 
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. 2568. ส่องเทรนด์การค้าไม้ตัดดอกของไทยในตลาดต่างประเทศ.     https://tpso.go.th/news/2503-0000000004
รัฐบาลไทย. 2568. “ไม้ตัดดอก” ตลาดส่งออกสดใส เผยมูลค่าการส่งออกปี 67 สร้างเม็ดเงินกว่า 2,000 ล้าน     บาท. https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/94120
 
มหาชนออนไลน์. 2568. ถึงคิว “ธุรกิจขายต้นไม้” รายได้ผลิดอก ออกกำไรกว่า 2.4 พันล้านต่อปี.           https://www.mahachon.net/38165
 
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2568. ‘รองปลัดฯ ภัทราภรณ์’ ประชุมคณะอนุฯ สินค้ากล้วยไม้ ไม้ดอกไม้  ประดับ เตรียมเสนอขอรับการจัดสรรเงินจากกองทุนรวมฯ 2568 ผลักดันช่วยเหลือเกษตรกรกล้วยไม้ ไทย. https://www.moac.go.th/news-preview-471091791208
    - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    - การสะท้อนแนวคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้
    - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
   - ผลการสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค
   - การนำเสนอรายงาน ผลการปฏิบัติการที่ได้รับมอบหมาย ความรับผิดชอบในการทำงาน
   - มีการทบทวนความรู้ความเข้าใจท้ายการเรียนการสอน
   - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่ม  ตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
   - โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
   - ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา
   - การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
   - อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา/ คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป