การสำรวจเพื่อการเกษตร
Surveying for Agricultures
การสำรวจพื้นที่ การรังวัดที่ดิน การใช้เครื่องมือสำหรับการสำรวจทางวิศวกรรม การวัดระยะทาง มุม และทิศทาง การทำระดับ การคำนวณพื้นที่และปริมาตรดิน การทำแผนที่ แผนผัง การวาดภาพลักษณะภูมิประเทศ การประมวลผล การทำแผนที่ดิจิทัล ระบบสารสนเทศภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม การวางแปลน และการวางผังการใช้พื้นที่ ประเภทเอกสารสิทธิ์ในการทำการเกษตร
2.1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
2.2 เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนักศึกษาและความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
2.2 เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนักศึกษาและความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
การสำรวจพื้นที่ การรังวัดที่ดิน การใช้เครื่องมือสำหรับการสำรวจทางวิศวกรรม การวัดระยะทาง มุม และทิศทาง การทำระดับ การคำนวณพื้นที่และปริมาตรดิน การทำแผนที่ แผนผัง การวาดภาพลักษณะภูมิประเทศ การประมวลผล การทำแผนที่ดิจิทัล ระบบสารสนเทศภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม การวางแปลน และการวางผังการใช้พื้นที่ ประเภทเอกสารสิทธิ์ในการทำการเกษตร
3.1 อาจารย์ประจำวิชาปฐมนิเทศและแจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับความสำคัญของวิชา วิธีการดำเนินการเรียนการสอน และเวลาที่ใช้ศึกษานอกเวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์
3.2 อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ต่อกลุ่มเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าขอรับคำปรึกษาทั้งแบบเผชิญหน้า (Face to Face) และผ่านสื่อเครือข่ายสังคม (Social media)
3.2 อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ต่อกลุ่มเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าขอรับคำปรึกษาทั้งแบบเผชิญหน้า (Face to Face) และผ่านสื่อเครือข่ายสังคม (Social media)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
เน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มอบหมายงานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและผการเป็นสมาชิกของกลุ่ม สร้างความตระหนักในความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตการสอบ หรือลอกการบ้านของผู้อื่น นอกจากนี้ยังแทรกกรณีศึกษาเรื่องคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงการมีกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรมและจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของวิชาการออกแบบวิศวกรรม
2.1.2 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.2 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์หลักการทางทฤษฎีมาปฎิบัติงานภาคสนาม โดยใช้เครื่องมือจริงที่มีใช้กันในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา
2.3.1 ทดสอบย่อยเพื่อวัดความรู้ภาคทฤษฎี
2.3.2 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคเพื่อวัดความรู้ภาคทฤษฎี
2.3.3 ทดสอบการปฎิบัติงานภาคสนามเพื่อวัดทักษะการใช้เครื่องมือ ความแคล่วคร่อง วิธีการทำงานที่ถูกต้อง และผลลัพธ์ที่แสดงออกมา
2.3.2 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคเพื่อวัดความรู้ภาคทฤษฎี
2.3.3 ทดสอบการปฎิบัติงานภาคสนามเพื่อวัดทักษะการใช้เครื่องมือ ความแคล่วคร่อง วิธีการทำงานที่ถูกต้อง และผลลัพธ์ที่แสดงออกมา
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์ใช้ในสาขาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าผ่านชั้นเรียนและห้องเรียนเสมือน โดยใช้ MS Team และสื่อสังคมออนไลน์
3.2.3 ปฏิบัติงานจริงภาคสนามตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าผ่านชั้นเรียนและห้องเรียนเสมือน โดยใช้ MS Team และสื่อสังคมออนไลน์
3.2.3 ปฏิบัติงานจริงภาคสนามตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฎิบัติงานภาคสนามของนักศึกษา
4.1.1 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.2 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.1.2 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา และสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา และสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการงานออกแบบวิศวกรรม
5.2.2 ค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.2.2 ค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน และการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน และการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
6.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.1.2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.1.2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.3.1 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน และประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่มอบหมายให้ทำ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะพิสัย | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 2 | 4 | 2 | 4 | 1 | 3 | 4 | 5 | 5 | 2 | 1 |
1 | ENGAG220 | การสำรวจเพื่อการเกษตร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 4.2, 4.3, 4.4, 4.5 | - สอบย่อย - สอบกลางภาค/สอบปลายภาค - การนำเสนองานที่มอบหมาย | 1-7 , 9-16 8, 17, | 30% |
2 | 4.6 | - ทดสอบภาคปฏิบัติ - นำเสนองานที่มอบหมาย | 1-7 , 9-16 | 40% |
3 | 4.1 | - การเข้ารียน - การทำงานกลุ่ม | 1-7 , 9-16 | 10% |
- PPT การสำรวจเพื่อการเกษตร (ก้องเกียรติ ธนะมิตร)
1. การสำรวจรังวัด ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ (วิชัย เยี่ยงวีรชน) : https://www.npdwebsite.net/knowledge/view_npd.php?no=00051
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านระบบออนไลน์
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์การทำกิจกรรมของนักศึกษาระหว่างเรียน และงานมอบหมายที่นักศึกษาทำส่ง
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 ผลการประเมินการสอนของอาจารย์
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 ผลการประเมินการสอนของอาจารย์
ปรับการสอนรายสัปดาห์โดยพิจารณาจากผลข้อ 2.1
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ