การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมกระบวนการผลิต

Computer Applications in Manufacturing Engineering

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการเลือกใช้และประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาและสนับสนุนกระบวนการทำงานทางวิศวกรรมกระบวนการผลิต รวมถึงสามารถสื่อสารผลการประยุกต์ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1 เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและรองรับซอฟต์แวร์ที่นิยมในอุตสาหกรรมการผลิตในปัจจุบัน
2.2 เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และการประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลในกระบวนการวิศวกรรม
2.3 เพื่อปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับระดับผู้เรียนในสายต่อเนื่องและเน้นการประยุกต์ใช้งานจริงในรายวิชา

 
ศึกษาหลักการของรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ดี และการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น Microsoft Excel เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล การทำนายการผลิต การวางแผนวัสดุ และการพัฒนาแผนการผลิต เพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการและวิศวกรสามารถวางแผนการใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซับซ้อนของกระบวนการตัดสินใจ เพิ่มผลผลิต และลดต้นทุน
ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา และความมีวินัยในตนเอง
ยกตัวอย่างกรณีศึกษา การกำหนดกติกาการเรียนกลุ่ม/เดี่ยว การปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
การสังเกตพฤติกรรม การส่งงานตรงเวลา ความร่วมมือในกิจกรรมกลุ่ม
ความเข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น การใช้ Excel และซอฟต์แวร์วางแผนการผลิต
การบรรยาย/สาธิต การทำแบบฝึกหัด/ปฏิบัติจริง
แบบทดสอบ การบ้าน การสอบปลายภาค
การวิเคราะห์ปัญหาในกระบวนการผลิต การวางแผนอย่างมีเหตุผลและมีหลักการ
วิเคราะห์กรณีศึกษา แบบฝึกหัดเชิงวิเคราะห์ การอภิปรายกลุ่ม
ผลงานวิเคราะห์ สรุปรายงาน และการสอบอัตนัย
การทำงานร่วมกัน การแบ่งหน้าที่ การสื่อสาร และการรับฟังความคิดเห็น
การเรียนรู้แบบกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม และการนำเสนอ
การสังเกตพฤติกรรม การประเมินตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ การใช้โปรแกรม Excel Solver, VBA, Lingo
ปฏิบัติด้วยโปรแกรมต่าง ๆ การฝึกแก้ปัญหาเชิงตัวเลข
การส่งแบบฝึกหัด การรายงานผล การสอบปฏิบัติ
ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวางแผนและตัดสินใจเชิงวิศวกรรม
การสาธิต/ฝึกปฏิบัติ การทำซ้ำ/ฝึกฝน
แบบฝึกหัดรายสัปดาห์ การสอบปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ฯ 5. การใช้ตัวเลขฯ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ฝึกคิด วิเคราะห์ และออกแบบโครงงาน บรรยาย, สาธิต, ปฏิบัติการ, แบบฝึกหัด ผ่านการบรรยาย วิเคราะห์กรณีศึกษา และทำข้อเสนอโครงงาน ผ่านกิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย และแบบประเมินตนเอง ฝึกใช้ซอฟต์แวร์ นำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยี ผ่านการฝึกปฏิบัติจริง/เก็บข้อมูลเบื้องต้น
1 ENGMT203 การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมกระบวนการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 อธิบายหลักการเขียนโปรแกรมที่ดี และการเลือกใช้โปรแกรมที่เหมาะสมในงานวิศวกรรมกระบวนการผลิต แบบทดสอบ, ถาม-ตอบ สัปดาห์ที่ 2–3 20%
2 วิเคราะห์ปัญหาในกระบวนการผลิต และเลือกใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ แบบฝึกหัดและรายงานการวิเคราะห์ข้อมูล สัปดาห์ที่ 4–6 30%
3 ประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สำหรับการวางแผนการผลิต การควบคุมคุณภาพ และการจัดการคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการดำเนินงานวิศวกรรม เช่น ระบบข้อมูล การเงิน หรือการวิเคราะห์งาน ได้อย่างเหมาะสม งานปฏิบัติการการใช้ซอฟต์แวร์ Excel Solver/Lingo สัปดาห์ที่ 7–10 50%
1.1 เอกสารคำสอนของผู้สอน
1.2 คู่มือ Microsoft Excel / VBA / Solver / LINGO
2.1 มาตรฐานระบบการผลิตและคลังสินค้า
2.2 บทความวิจัย/กรณีศึกษาอุตสาหกรรม
3.1 วิดีโอสอน Excel และ VBA จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์
3.2 ซอฟต์แวร์และ Add-in ที่ใช้ประกอบ
1.1 แบบสอบถามความพึงพอใจหลังเรียน
1.2 การประเมินออนไลน์เกี่ยวกับสื่อและวิธีสอน
2.1 การสังเกตในชั้นเรียนโดยหัวหน้าสาขาวิชา
2.2 การรับฟังความคิดเห็นจากนักศึกษา
3.1 ปรับรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม
3.2 เพิ่มเนื้อหาสมัยใหม่/ซอฟต์แวร์ใหม่ทุกภาคเรีย
4.1 ตรวจสอบคะแนนโดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.2 ใช้ Rubric ที่ชัดเจนในการประเมินผล
5.1 ประชุมสรุปผลการสอนประจำภาคการศึกษา
5.2 รายงานผลการดำเนินงานและแผนการปรับปรุงต่อประธานหลักสูตร