ความปลอดภัยในงานเหมืองแร่
Mine Safety
เพื่อให้มีแนวคิด ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการป้องกันการเกิดอบัติเหตุ การลดความเสี่ยงจากการทำเหมือง การบริหารงานความปลอดภัย
มีหลักและวิธีการป้องกัน ควบคุมอุบัติเหตุและอันตราย การตรวจความปลอดภัย และการตรวจสอบระบบความปลิดภัย เทคนิคการวิเคราะห์ความปลอดภัย การจัดลำดับความสำคัญของภัยเสี่ยง การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในงานความปลอดภัย การสอบสวนอุบัติที่เกิดขึ้น การวิเคราะห์และบันทึกรายงาน จิตวิทยาและการจูงใจเพื่อความปลอดภัย การป้องกันความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี แร่ และความปลอดภัยจากการหินตกใส่ รวมถึงกฎหมายเหมืองแร่และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยเหมืองแร่
มีหลักและวิธีการป้องกัน ควบคุมอุบัติเหตุและอันตราย การตรวจความปลอดภัย และการตรวจสอบระบบความปลิดภัย เทคนิคการวิเคราะห์ความปลอดภัย การจัดลำดับความสำคัญของภัยเสี่ยง การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในงานความปลอดภัย การสอบสวนอุบัติที่เกิดขึ้น การวิเคราะห์และบันทึกรายงาน จิตวิทยาและการจูงใจเพื่อความปลอดภัย การป้องกันความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี แร่ และความปลอดภัยจากการหินตกใส่ รวมถึงกฎหมายเหมืองแร่และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยเหมืองแร่
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1) มีความเข้าใจ ซาบซึ้ง และตระหนักในคุณค่าในศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทย
1.1.2) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4) สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.6) มีจิตสำนึกต่อสาธารณะและตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม
1.2.1 อธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับจริยธรรมและความรับผิดชอบในวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ โดยเน้นการใช้วิชาชีพอย่างซื่อสัตย์และไม่ใช้วิชาชีพเพื่อหาผลประโยชน์ส่วนตัว
1.2.2 จัดให้มีการอภิปรายเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2.3 ให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจากการใช้วิชาชีพ และนำเสนอในการอภิปรายกลุ่ม
1.2.4 กำหนดโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบในวิชาชีพและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
1.3.1 การเข้าชั้นเรียนและส่งงานตามที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน ภายในเวลาที่กำหนด
1.3.2 การอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการจัดทำรายงานอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
1.3.3 การประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ได้รับ
1.3.4 การประเมินคุณภาพของการนำเสนอรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 เข้าใจระบบการจัดการความปลอดภัยในเหมือง การประเมินความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน และอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2.1.2 จำแนกปัจจัยที่ส่งผลต่อความปลอดภัยและการจัดการความเสี่ยงในกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเหมืองเฉพาะด้าน
2.1.3 วิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของอุบัติเหตุร้ายแรงที่เกี่ยวข้องกับเหมือง (ทั้งจากสิ่งแวดล้อมและธรณีเทคนิค) รวมถึงกลยุทธ์และมาตรการควบคุมความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 ออกแบบระบบระบายอากาศในเหมืองเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการทำงาน/การปฏิบัติงานที่ปลอดภัย
2.1.5 ประเมินความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุการณ์แบบไดนามิก/แผ่นดินไหวในเหมือง
2.1.2 จำแนกปัจจัยที่ส่งผลต่อความปลอดภัยและการจัดการความเสี่ยงในกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเหมืองเฉพาะด้าน
2.1.3 วิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของอุบัติเหตุร้ายแรงที่เกี่ยวข้องกับเหมือง (ทั้งจากสิ่งแวดล้อมและธรณีเทคนิค) รวมถึงกลยุทธ์และมาตรการควบคุมความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 ออกแบบระบบระบายอากาศในเหมืองเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการทำงาน/การปฏิบัติงานที่ปลอดภัย
2.1.5 ประเมินความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุการณ์แบบไดนามิก/แผ่นดินไหวในเหมือง
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านการบรรยาย การอภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน และการวิเคราะห์กรณีศึกษา พร้อมทั้งมอบหมายให้ผู้เรียนสืบค้นบทความหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาสรุปและนำเสนอในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) รวมถึงการพัฒนาโครงงานที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง มีการเสนอประเด็นและปัญหาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับบริบททางวิชาชีพ เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาในการวิเคราะห์และเรียนรู้เชิงบูรณาการ
2.3.1 ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยข้อสอบที่ใช้จะมุ่งเน้นการวัดความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา ไม่เพียงแต่การท่องจำ แต่เน้นการนำความรู้ไปใช้วิเคราะห์เชิงหลักการ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงระดับความเข้าใจและการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
2.3.2 ประเมินผลการเรียนรู้จากกระบวนการคิดและการสื่อสารผ่านการนำเสนอผลการสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์กรณีศึกษา หรือการแก้ปัญหาตามแนวทางของ Problem-based Learning โดยผู้เรียนจะต้องแสดงให้เห็นถึงทักษะในการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอเนื้อหาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน และน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นการส่งเสริมทั้งทักษะการเรียนรู้เชิงลึกและทักษะในศตวรรษที่ 21
2.3.2 ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การทำงานร่วมกันเป็นทีม และการปฏิบัติจริงในภาคสนามหรือห้องปฏิบัติการ โดยเน้นการประเมินกระบวนการทำงานร่วมกัน การแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง เพื่อสะท้อนถึงทักษะการสื่อสาร การร่วมมือ และความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
2.3.2 ประเมินผลการเรียนรู้จากกระบวนการคิดและการสื่อสารผ่านการนำเสนอผลการสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์กรณีศึกษา หรือการแก้ปัญหาตามแนวทางของ Problem-based Learning โดยผู้เรียนจะต้องแสดงให้เห็นถึงทักษะในการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอเนื้อหาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน และน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นการส่งเสริมทั้งทักษะการเรียนรู้เชิงลึกและทักษะในศตวรรษที่ 21
2.3.2 ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การทำงานร่วมกันเป็นทีม และการปฏิบัติจริงในภาคสนามหรือห้องปฏิบัติการ โดยเน้นการประเมินกระบวนการทำงานร่วมกัน การแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง เพื่อสะท้อนถึงทักษะการสื่อสาร การร่วมมือ และความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการคิดอย่างมีระบบและเป็นลำดับขั้นตอน โดยเน้นการวิเคราะห์สถานการณ์ การประเมินปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการทำเหมืองแร่ และการวางแผนเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม ผู้เรียนจะได้รับการฝึกฝนทั้งด้านแนวคิดและการปฏิบัติผ่านสถานการณ์จำลอง กรณีศึกษา และกิจกรรมเชิงบูรณาการ เพื่อให้สามารถนำความรู้ด้านความปลอดภัยมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเสริมสร้างทักษะพื้นฐานที่จำเป็น เช่น การสังเกต การประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น การตัดสินใจภายใต้ความกดดัน และการสื่อสารในภาวะวิกฤต ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญในการทำงานด้านความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ยุคใหม่
3.2.1 มอบหมายโครงงานพิเศษให้นักศึกษา โดยเน้นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมเหมืองแร่ และการสืบค้นแนวทางในการแก้ไขอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งจัดให้มีการนำเสนอผลงานต่อที่ประชุมกลุ่มหรือคณาจารย์ เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและการรับฟังความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุง
3.2.2 จัดกิจกรรมการอภิปรายกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การคิดอย่างมีเหตุผล การฟังอย่างเข้าใจ และการสร้างแนวคิดร่วมกันในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์จากหลากหลายมุมมอง
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาในความปลอดภัยจากการทำเหมืองเหมืองแร่ โดยให้นักศึกษาพิจารณาข้อมูลจริงหรือจำลองสถานการณ์ที่ซับซ้อน เพื่อฝึกทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ การตัดสินใจอย่างมีหลักการ และการออกแบบงานเหมืองอย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิค ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
3.2.4 ส่งเสริมการสะท้อนแนวคิดและพฤติกรรมจากประสบการณ์การเรียนรู้หรือการปฏิบัติงาน โดยให้นักศึกษาตระหนักรู้ในผลของการกระทำของตนทั้งในเชิงจริยธรรม ความรับผิดชอบ และบทบาทในฐานะวิศวกรที่มีคุณธรรม
3.2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำเหมืองแร่ โดยให้นักศึกษาศึกษามาตรฐานความปลอดภัย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และกรณีตัวอย่างของอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในงานเหมืองแร่ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง วางแผนการป้องกัน และออกแบบแนวทางควบคุมอันตรายที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งสร้างจิตสำนึกในด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานจริงอย่างมีความรับผิดชอบ
3.2.2 จัดกิจกรรมการอภิปรายกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การคิดอย่างมีเหตุผล การฟังอย่างเข้าใจ และการสร้างแนวคิดร่วมกันในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์จากหลากหลายมุมมอง
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาในความปลอดภัยจากการทำเหมืองเหมืองแร่ โดยให้นักศึกษาพิจารณาข้อมูลจริงหรือจำลองสถานการณ์ที่ซับซ้อน เพื่อฝึกทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ การตัดสินใจอย่างมีหลักการ และการออกแบบงานเหมืองอย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิค ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม
3.2.4 ส่งเสริมการสะท้อนแนวคิดและพฤติกรรมจากประสบการณ์การเรียนรู้หรือการปฏิบัติงาน โดยให้นักศึกษาตระหนักรู้ในผลของการกระทำของตนทั้งในเชิงจริยธรรม ความรับผิดชอบ และบทบาทในฐานะวิศวกรที่มีคุณธรรม
3.2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำเหมืองแร่ โดยให้นักศึกษาศึกษามาตรฐานความปลอดภัย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และกรณีตัวอย่างของอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในงานเหมืองแร่ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง วางแผนการป้องกัน และออกแบบแนวทางควบคุมอันตรายที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งสร้างจิตสำนึกในด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานจริงอย่างมีความรับผิดชอบ
3.3.1 ดำเนินการสอบกลางภาคและปลายภาคโดยใช้ข้อสอบที่เน้นการวิเคราะห์สถานการณ์จริงและการประเมินแนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อวัดความเข้าใจเชิงลึกและความสามารถในการนำความรู้ไปปรับใช้ในบริบทต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
3.3.2 ประเมินผลผ่านโครงการที่มอบหมาย รวมถึงการนำเสนอผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสะท้อนทักษะการวางแผน การดำเนินงาน และการสื่อสารข้อมูลอย่างชัดเจนและน่าเชื่อถือ
3.3.3 สังเกตและประเมินพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาของผู้เรียนในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยให้ความสำคัญกับวิธีคิดเชิงวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ และการตัดสินใจที่เหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดและความท้าทาย
3.3.5 การทดสอบเชิงปฏิบัติ จัดการทดสอบเชิงปฏิบัติเพื่อประเมินทักษะและความสามารถของผู้เรียนในการนำความรู้ไปใช้จริง โดยเฉพาะด้านความปลอดภัยในการทำเหมืองแร่ ผู้เรียนจะได้แสดงออกถึงความเข้าใจในกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามมาตรฐานความปลอดภัย การจัดการอุปกรณ์และเครื่องมือ การตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการประเมินและลดความเสี่ยงในสภาพแวดล้อมจริงหรือจำลอง การทดสอบนี้ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจและความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
3.3.2 ประเมินผลผ่านโครงการที่มอบหมาย รวมถึงการนำเสนอผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสะท้อนทักษะการวางแผน การดำเนินงาน และการสื่อสารข้อมูลอย่างชัดเจนและน่าเชื่อถือ
3.3.3 สังเกตและประเมินพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาของผู้เรียนในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยให้ความสำคัญกับวิธีคิดเชิงวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ และการตัดสินใจที่เหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดและความท้าทาย
3.3.5 การทดสอบเชิงปฏิบัติ จัดการทดสอบเชิงปฏิบัติเพื่อประเมินทักษะและความสามารถของผู้เรียนในการนำความรู้ไปใช้จริง โดยเฉพาะด้านความปลอดภัยในการทำเหมืองแร่ ผู้เรียนจะได้แสดงออกถึงความเข้าใจในกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามมาตรฐานความปลอดภัย การจัดการอุปกรณ์และเครื่องมือ การตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการประเมินและลดความเสี่ยงในสภาพแวดล้อมจริงหรือจำลอง การทดสอบนี้ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจและความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
4.2.1 กิจกรรมบรรยายและอภิปราย การบรรยายแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับทักษะการทำงาน
4.2.2 การจำลองสถานการณ์ (Role Play) จัดกิจกรรมจำลองบทบาทเพื่อฝึกทักษะการสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ
4.2.3 การทำงานกลุ่มและโครงการร่วม ความร่วมมือ การแบ่งหน้าที่ และการประสานงาน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำจริง
4.2.2 การจำลองสถานการณ์ (Role Play) จัดกิจกรรมจำลองบทบาทเพื่อฝึกทักษะการสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ
4.2.3 การทำงานกลุ่มและโครงการร่วม ความร่วมมือ การแบ่งหน้าที่ และการประสานงาน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำจริง
4.3.1 ดำเนินการประเมินตนเองและประเมินเพื่อนร่วมงานโดยใช้แบบฟอร์มที่กำหนดไว้ เพื่อสะท้อนความเข้าใจและการพัฒนาทักษะร่วมกันในทีม
4.3.2 ประเมินผลจากรายงานการนำเสนอผลงานและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม เพื่อวัดความสามารถในการประสานงาน การสื่อสาร และการร่วมมือกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.3.3 ประเมินผลจากรายงานการศึกษาด้วยตนเองที่ผู้เรียนจัดทำขึ้น เพื่อสะท้อนความรู้ ความเข้าใจ และการนำเสนอความก้าวหน้าในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินผลจากรายงานการนำเสนอผลงานและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม เพื่อวัดความสามารถในการประสานงาน การสื่อสาร และการร่วมมือกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.3.3 ประเมินผลจากรายงานการศึกษาด้วยตนเองที่ผู้เรียนจัดทำขึ้น เพื่อสะท้อนความรู้ ความเข้าใจ และการนำเสนอความก้าวหน้าในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
5.1.1 เสริมสร้างทักษะการคิดเชิงคำนวณและการแปรผลทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเหมืองแร่ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
5.1.2 พัฒนาทักษะการสื่อสารอย่างครบวงจร ทั้งการพูด การฟัง การแปลความหมาย และการเขียน ผ่านกิจกรรมการจัดทำรายงานและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
5.1.3 ส่งเสริมทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา เพื่อให้สามารถตีความและสรุปผลได้อย่างมีเหตุผลและเชิงลึก
5.1.4 พัฒนาความสามารถในการสืบค้นข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และการวิจัย
5.1.5 เสริมสร้างทักษะการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน มีโครงสร้าง และน่าสนใจ
5.1.2 พัฒนาทักษะการสื่อสารอย่างครบวงจร ทั้งการพูด การฟัง การแปลความหมาย และการเขียน ผ่านกิจกรรมการจัดทำรายงานและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
5.1.3 ส่งเสริมทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา เพื่อให้สามารถตีความและสรุปผลได้อย่างมีเหตุผลและเชิงลึก
5.1.4 พัฒนาความสามารถในการสืบค้นข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และการวิจัย
5.1.5 เสริมสร้างทักษะการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน มีโครงสร้าง และน่าสนใจ
5.2.1 นำเสนอผลงานผ่านการวิเคราะห์กรณีศึกษา หรือการจำลองเหตุการณ์สมมุติ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในสถานการณ์จริง
5.2.2 มอบหมายงานให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงลึกและการพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล
5.2.3 สนับสนุนการนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าสนใจในการสื่อสารข้อมูล
5.2.2 มอบหมายงานให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงลึกและการพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล
5.2.3 สนับสนุนการนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าสนใจในการสื่อสารข้อมูล
5.3.1 ประเมินผลจากคุณภาพของรายงานและรูปแบบการนำเสนอผลงาน เพื่อวัดความชัดเจน ความครบถ้วน และความน่าสนใจในการสื่อสารข้อมูล
5.3.2 ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย รวมถึงวิธีการและทักษะการสื่อสารที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.2 ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย รวมถึงวิธีการและทักษะการสื่อสารที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
การทำงานในสถานประกอบการหรืออาชีพอิสระด้านเหมืองแร่ไม่ได้เน้นเพียงทฤษฎีเท่านั้น แต่ต้องให้ความสำคัญกับทักษะปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย เช่น การวางแผน การควบคุมความเสี่ยง การตรวจสอบอุปกรณ์ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันอุบัติเหตุและส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทำงานที่ปลอดภัย ดังนั้น การเรียนการสอนจึงต้องเน้นการพัฒนาทักษะความปลอดภัยในการทำเหมืองแร่ ดังนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการทำงานเป็นทีม โดยแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและร่วมมือกันเพื่อรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
6.2.1 พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานโดยมุ่งเน้นหลักความปลอดภัยเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
6.2.2 จัดให้มีการสาธิตการปฏิบัติงานโดยผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยในเหมืองแร่ เพื่อเสริมสร้างความรู้และแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง
6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมเหมืองแร่ร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก โดยเน้นการเรียนรู้ด้านมาตรฐานและแนวทางความปลอดภัยในการทำงาน
6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษาโดยเน้นการนำเสนอผลงานที่สะท้อนการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยและมีจริยธรรม
6.2.5 ส่งเสริมการทำโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความปลอดภัยในงานเหมืองแร่ เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมและแนวทางปฏิบัติที่ปลอดภัย
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยะธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGMN120 | ความปลอดภัยในงานเหมืองแร่ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3, 2.5, 3.2, 3.4, 3.5 | สอบกลางภาค และปลายภาค | 9, 17 | 30%, 30% |
2 | 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 2.1, 4.1, 4.2, 4.4, 4.5, 5.5 | เข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมการเรียน การเสนอความคิดเห็น | ตลอดการศึกษา | 10% |
3 | 4.1, 4.2, 4.4, 4.4, 5.5, 6.2 | จัดทำรายงานความปลอดภัย นำเสนอ วิเคราะห์ อภิปลาย | ตลอดการศึกษา | 20% |
4 | 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 2.1, 5.5, 6.2 | Safety observation วิเคราะห์ อภิปราย การบริหารความเสียงตามที่มอบหมาย | ตลอดการศึกษา | 10% |
Rupprecht, S.M., 2015. Safety aspects and recommendations for surface artisanal mining. Journal of the Southern African Institute of Mining and Metallurgy, 115(11), pp.1007-1012.
Komljenovic, D. and Kecojevic, V., 2007. Risk management programme for occupational safety and health in surface mining operations. International Journal of Risk Assessment and Management, 7(5), pp.620-638.
Bajpayee, T.S., Rehak, T.R., Mowrey, G.L. and Ingram, D.K., 2004. Blasting injuries in surface mining with emphasis on flyrock and blast area security. Journal of Safety Research, 35(1), pp.47-57.
Elbeblawi, M.M.A., Elsaghier, H.A.A., Amin, M.T.M. and Abdellah, W.R.E., 2022. Surface mining technology. Springer Singapore.
Chi, S. and Caldas, C.H., 2012. Image-based safety assessment: Automated spatial safety risk identification of earthmoving and surface mining activities. Journal of Construction Engineering and Management, 138(3), pp.341-351.
Paul, P.S. and Maiti, J., 2007. The role of behavioral factors on safety management in underground mines. Safety science, 45(4), pp.449-471.
Bahn, S., 2013. Workplace hazard identification and management: The case of an underground mining operation. Safety science, 57, pp.129-137.
Aram, S.A., Saalidong, B.M., Appiah, A. and Utip, I.B., 2021. Occupational health and safety in mining: Predictive probabilities of Personal Protective Equipment (PPE) use among artisanal goldminers in Ghana. Plos one, 16(9), p.e0257772.
Ofosu, G., Arthur-Holmes, F. and Siaw, D., 2025. Internalizing corporate social responsibility (CSR) in ASM: The making of small-scale miners as environmental and work safety “‘champions’”. Strategy & Leadership, 53(3), pp.321-346.
Komljenovic, D. and Kecojevic, V., 2007. Risk management programme for occupational safety and health in surface mining operations. International Journal of Risk Assessment and Management, 7(5), pp.620-638.
Bajpayee, T.S., Rehak, T.R., Mowrey, G.L. and Ingram, D.K., 2004. Blasting injuries in surface mining with emphasis on flyrock and blast area security. Journal of Safety Research, 35(1), pp.47-57.
Elbeblawi, M.M.A., Elsaghier, H.A.A., Amin, M.T.M. and Abdellah, W.R.E., 2022. Surface mining technology. Springer Singapore.
Chi, S. and Caldas, C.H., 2012. Image-based safety assessment: Automated spatial safety risk identification of earthmoving and surface mining activities. Journal of Construction Engineering and Management, 138(3), pp.341-351.
Paul, P.S. and Maiti, J., 2007. The role of behavioral factors on safety management in underground mines. Safety science, 45(4), pp.449-471.
Bahn, S., 2013. Workplace hazard identification and management: The case of an underground mining operation. Safety science, 57, pp.129-137.
Aram, S.A., Saalidong, B.M., Appiah, A. and Utip, I.B., 2021. Occupational health and safety in mining: Predictive probabilities of Personal Protective Equipment (PPE) use among artisanal goldminers in Ghana. Plos one, 16(9), p.e0257772.
Ofosu, G., Arthur-Holmes, F. and Siaw, D., 2025. Internalizing corporate social responsibility (CSR) in ASM: The making of small-scale miners as environmental and work safety “‘champions’”. Strategy & Leadership, 53(3), pp.321-346.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชานี้ดำเนินการโดยนักศึกษา ผ่านกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและเสนอแนวคิด ได้แก่ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การตอบแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางออนไลน์ ซึ่งอาจารย์ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารและรับฟังความคิดเห็นจากนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
2.1 การสังเกตการสอนโดยผู้ร่วมทีมสอน
2.2 การวิเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การดำเนินการทวนสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
2.4 การทวนสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
3.1 การจัดสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ระหว่างคณาจารย์ทั้งภายในหลักสูตรและในระดับคณะ/มหาวิทยาลัย เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวทางการสอนที่มีประสิทธิภาพ และแนวโน้มทางการศึกษาสมัยใหม่
3.2 การดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น โดยเน้นการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มาวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการสอนอย่างต่อเนื่อง
3.3 การนำผลจากการประเมินและข้อเสนอแนะของนักศึกษา ตลอดจนข้อมูลจากการสังเกตการสอน มาปรับปรุงแผนการสอน เทคนิคการสอน และสื่อการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับลักษณะผู้เรียนและเป้าหมายของรายวิชา
3.4 การเข้าร่วมอบรมหรือกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพด้านการสอน เช่น หลักสูตรการจัดการเรียนรู้เชิงรุก การประเมินผลการเรียนรู้ หรือการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ดำเนินการปรับปรุงเนื้อหาและโครงสร้างของรายวิชาอย่างน้อยทุก 3 ปี หรือเมื่อมีข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (ตามข้อ 4) เพื่อให้เนื้อหาทันสมัยและสอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง
5.2 มีการหมุนเวียนหรือเปลี่ยนอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้มุมมองที่หลากหลาย โดยเฉพาะด้านการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจริง ทั้งในบริบทของงานวิจัยของอาจารย์หรือสถานการณ์ในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง