ระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า

Charging System for Electric Vehicle

1) เข้าใจแนวคิดและพื้นฐานระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า2) จำแนกประเภทและใช้งานระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า 3) อธิบายหลักการควบคุมการทำงานของระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า 4) อธิบายหลักการทำงานและข้อพึงปฏิบัติมาตรฐานระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า 5) สามารถออกแบบและควบคุมการทำงานของระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า6) เข้าใจหลักการของระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า7) จำแนกองค์ประกอบของระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า
ให้เป็นไปตามการพัฒนาหลักสูตร ให้เป็นปัจจุบัน 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า หลักการทำงาน โครงสร้าง การ บำรุงรักษาระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า การออกแบบระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า ระบบบริหารจัดการระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า การบำรุงรักษาระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า ข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้งานระบบประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์ไฟฟ้า
ตามความต้องการของนักศึกษา
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.2 มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 
1. การบรรยาย 2. การอภิปราย
1. การสอบข้อเขียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
การสอบถามจากนักศึกษาถึงประสิทธิผลของการเรียนรู้จากวิธีการที่ใช้  โดยใช้แบบสอบถามหรือการสนทนากับกลุ่มนักศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา โดยอาจารย์ผู้สอน
 
การประเมินการสอนโดยนักศึกษาทุกปลายภาคการศึกษา  โดยสำนักทะเบียนและประเมินผล
การประเมินผลการสอนโดยนักศึกษาในแต่ละรายวิชา  หัวหน้าภาควิชาจะแจ้งให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละคนทราบ  เพื่อปรับปรุงข้อบกพร่องต่างๆ ก่อนดำเนินการสอนในภาคการศึกษาต่อไป
อาจารย์ประจำวิชาทบทวนการประเมินประสิทธิผลของการสอนในวิชาที่รับผิดชอบในระหว่างภาค  ปรับปรุงทันทีหลังจากที่ได้รับข้อมูล
ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนรายวิชา  พิจารณาทบทวนสรุปผลการดำเนินการการสอนรายวิชา ระดมความคิดเห็นเพื่อวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา