โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์และการเชื่อมต่อ
Programable Logic Controller and Interfacing
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานองค์ประกอบประโยชน์จากการใช้งานด้านการใช้งานด้านระบบอัตโนมัติ PLC และการ Interface
พื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์เกี่ยวกับ โครงสร้างระบบอินพุต เอาต์พุต ของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ การเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ตามมาตรฐาน IEC 61131-3 คำสั่งพื้นฐานได้ คำสั่งพื้นฐานโปรแกรมควบคุมการทำงานของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ การใช้งาน Sensor และ การ Interface สามารถประยุกต์ใช้งานโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม การวิเคราะห์และออกแบบระบบที่ใช้โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ การอินเตอร์เฟส อุปกรณ์อินพุตและเอาท์พุต อุปกรณ์เซ็นเซอร์ การกำหนดแอดเดรสการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและการโปรแกรม การออกแบบระบบควบคุมการใช้งานโอเปอเรเตอร์ต่างๆ ลักษณะสมบัติของอนาล็อก การใช้รีโมทควบคุมอุปกรณ์ การสื่อสารโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ในระบบ LAN และการประยุกต์ใช้งานอุตสาหกรรมเกษตร
1 ชม/สัปดาห์ แล้วแต่ นศ. ที่เรียนไม่ทัน
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
บรรยายหลักการ และสอนวิธีการพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ปฎิบัติตามใบงาน อภิปรายกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม
1.3.1 ประเมินจากวินัย และ พฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม ขอบเขตให้ตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพของงานทีรับมอบหมาย และมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานเพื่อกระประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมด้านทางวิศวกรรม 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิง ทฤษฎีแบะปฏิบัติ ในเนื้อหาสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3 สามารบูรณการความรู้สาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
บรรยาย อภิปรายเกี่ยวกับหลักทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติใน LAB โดยสอดคล้องกับเนื้อหา การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
2.3.2 สอบปฎิบัติ
2.3.3 ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด หรือการตอบคำถามนั้นเรียน
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวมศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรม ได้อย่างเนระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลการัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทาองค์ความรู้และเทคโนโลยี
3.1.2 สามารถรวบรวมศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรม ได้อย่างเนระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลการัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทาองค์ความรู้และเทคโนโลยี
3.2.1 สอนการคิดอย่างเป็นระบบ โดยการยกตัวอย่างจากสภาพต่างๆ
3.2.2 วิเคราะห์ศึกษาการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านทฤษฏีลอจิก เพื่อ ออกแบบระบบอัตโนมัติ
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติของนักศึกษา
3.2.4 การมอบให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเขียนขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
3.2.2 วิเคราะห์ศึกษาการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านทฤษฏีลอจิก เพื่อ ออกแบบระบบอัตโนมัติ
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติของนักศึกษา
3.2.4 การมอบให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเขียนขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีมีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย 3.3.3 สัมภาษณ์ และสังเกตพฤติกรรม การแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง รับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม LAB ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนดเวลา
4.2.2 มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนดเวลา
4.3.1 ประเมินจากการปฎิบัติงานและผลงานที่ได้
4.3.2 ประเมินจากรายงานกลุ่มที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 ทักษะการคำนวณเชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน การฟัง การแปล ระหว่างการสอนภาคทฤษฎี และรายงานกลุ่ม
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.5 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน การฟัง การแปล ระหว่างการสอนภาคทฤษฎี และรายงานกลุ่ม
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.5 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้ากรณีศึกษาด้วยตนเองจากเว็บไซต์
5.2.2 อภิปรายในห้องเรียนตามเวลาและจังหวะที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละเรื่อง
5.2.3 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนองานกลุ่ม
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนองานกลุ่ม
6.1.1 สามารถให้เครื่องมือ อุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาโปรแกรม PLC และ HMI ได้อย่างถูกต้อง
6.1.2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.1.2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาระบบออโตเมชั่นและวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักการ
6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา
6.2.3 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดขอบกัน
6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและโทคโนโลยีที่เหมาะสม
6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา
6.2.3 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดขอบกัน
6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและโทคโนโลยีที่เหมาะสม
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ ในเรื่องเวลา วิธีการและผลงานที่ได้รับ การทำงานร่วมกัน
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติการทดลอง รวมทั้งงานที่มอบหมาย
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติการทดลอง รวมทั้งงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.2, 1..3 | - ประเมินโดยสังเกตจากการสอบและความเข้าใจของงานที่ได้รับมอบหมาย - ประเมินจากการเข้าเรียน พฤติกรรมการเรียน - ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นของงานกลุ่ม | 1 - 16 | 10% |
2 | 2.2 | - ประเมินจากการสอบ และทักษะการทำงาน - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย | 8 และ 17 | 45% |
3 | 3.1,3.2 | - ประเมินจาก แบบฝึกหัด - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย LAB - ประเมินจากการตอบคำถามในห้องเรียน | 1-16 | 35% |
4 | 5.1, 5.1 | - ประเมินจากข้อสอบ - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายโดยการสืบค้นข้อมูล | 1-16 | 10% |
[1] ณรงค์ ตันชีวะวงศ์ (2537) ระบบ PLC (Programable Logic Control) สำนักพิมพ์ สสท. [2] บริษัทออมรอน อีเล็กทรอนิกส์ จำกัด (2552) การใช้งาน PLC ระดับ 1 สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน [3] รศ. ธีรศิลป์ ทุมวิภาต และ สุภาพร จำปาทอง (2547) เรียยรู้ PLC ขั้นกลางด้วยตนเอง สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน [4] รศ. สุเธียร เกียรติสุนทร (2558) ระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม พีแอลซีกับระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน
Hugh Jack (2004) Automating Manufacturing Systems with PLCs GNU Free Documentation License.
ไพล็อตแลมป์ Pilot Lamp [1 ใน 40 บทเรียนคอร์สมอเตอร์ อุปกรณ์ และวงจรควบคุม] https://www.youtube.com/watch?v=6Qq2bwmrTIU Switch types - Types of Switches https://www.youtube.com/watch?v=cql9y2FIPvA
การใช้งาน Selector Switch ในโหมด AUTO/MANUAL https://www.youtube.com/watch?v=E9X41XCRE10
รีเลย์ หน้าที่และหลักการทำงานเบื้องต้น https://www.youtube.com/watch?v=6KbqjbklhK4 Ep.103 การต่อแมกเนติกขั้นพื้นฐานและการต่อวงจรสั่งการทำงาน https://www.youtube.com/watch?v=c4IXj6a_EKA
star delta connection without motor !Use incandescent light bulb STAR DELTA Starter https://www.youtube.com/watch?v=zUPeV5OO0iA สอนวิธีการต่อวงจร สตาร์-เดลต้า (Star-Delta) สำหรับมือใหม่ (ตอนที่ 2) https://www.youtube.com/watch?v=16wO3GCEqgk สอนวิธีการต่อวงจร Star-Delta สำหรับมือใหม่ Part 1 https://www.youtube.com/watch?v=AsvKJpwb2tw
Direct start2 https://www.youtube.com/watch?v=zvSJbztnE7I
Star-Delta Starter PLC Program and Wiring_Part 5 https://www.youtube.com/watch?v=qA3Yg5CS-F8
RealPars https://www.youtube.com/user/ParsicAutomation/videos PLC Siemens 1/12 คำสั่งเบื้องต้น https://www.youtube.com/watch?v=HZMjUTWcU9Y
วงจรควบคุมพื้นฐาน(Relay Ladder) part 2 https://www.youtube.com/watch?v=RoesRGOEVdk
การเขียนคำสั่งสตาร์ทมอเตอร์3 เฟสแบบ สตาร์ - เดลต้า https://www.youtube.com/watch?v=SvwImD9fXiQ
Ep.117 การเขียนโปรแกรม PLC Analog Input และ Analog Output https://www.youtube.com/user/lertlam/videos
-
-
เน้นการปฏิบัติเพิ่มเติม
สอบถาม ดูพฤติกรรม
-