การเจียระไนและการประดับอัญมณี
Gemstone Cutting and Setting
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเจียระไนและประดับอัญมณี กระบวนการเจียระไนแบบหลังเบี้ยและแบบเหลี่ยม กระบวนการประดับอัญมณีรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับ การเจียระไนและประดับอัญมณี ตลอดจนได้เรียนรู้กระบวนการเจียระไนและประดับอัญมณี แบบต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและแนวโน้มด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการเจียระไนและประดับอัญมณี กระบวนการเจียระไนแบบหลังเบี้ยและแบบเหลี่ยม กระบวนการประดับอัญมณีรูปแบบต่าง ๆ
3
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.3 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.3 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนและการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยายกระบวนการทำงาน และสาธิตการปฏิบัติงานให้นักศึกษาได้ดูเป็นตัวอย่าง
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทักษะ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
3.3.2 ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามาถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามาถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนองานหลังจากวิเคราะห์
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนองานหลังจากวิเคราะห์
4.3.1 ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.2.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับทักษะการปฏิบัติ
6.1 มีทักษะการทำงานตามที่กำหนด
6.2 มีทักษะในการประยุกต์ การทำงาน ได้ด้วยตนเอง
6.3 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างสวยงาม
6.2 มีทักษะในการประยุกต์ การทำงาน ได้ด้วยตนเอง
6.3 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างสวยงาม
6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการปฏิบัติงาน
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติงานรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติงานรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
6.3.2 แนวคิดในการปฏิบัติงาน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการทำงาน
6.3.2 แนวคิดในการปฏิบัติงาน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการทำงาน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | มีทักษะผ่าเกณฑ์ | สอบกลางภาค (ทักษะ) สอบปลายภาค (ทักษะ) | 9 18 | 10% 10% |
วิทยากร บุญเรือง, 2555, อุตสาหกรรมเจียระไนพลอยและแรงงานในประเทศไทยช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ,
สำนักพิมพ์คนทำงาน, 39 หน้า.
Gemstone Artists, The Gem Cutting Process, www.gemstoneartist.com
สำนักพิมพ์คนทำงาน, 39 หน้า.
Gemstone Artists, The Gem Cutting Process, www.gemstoneartist.com
การศึกษาประสิทธิภาพในการฝังอัญมณีโดยใช้ธุรกิจอัจฉริยะ
การออกแบบและพัฒนารูปแบบเครื่องประดับโดยใช้วิธีการฝังพลอยในเซรามิก
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชัวโมง
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชัวโมง
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ผู้สอนควรให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ หรืองานวิจัย
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ผู้สอนควรให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ หรืองานวิจัย