ทักษะวิชาชีพสัตวศาสตร์ 4

Practical Skills in Animal Science 4

เพื่อให้นักศึกษาฝึกงานสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในฟาร์ม บนพื้นฐานของการใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างเหมาะสม ในการจัดการฟาร์ม
การเตรียมความพร้อมการฝึกงานภายนอกหรือสหกิจศึกษา
เพื่อให้นักศึกษานักศึกษามีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการบูรณาการเทคโนโลยีทางสัตวศาสตร์ มีทัศนคติและเจตคติทีดีต่อวิชาชีพ สร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในฟาร์ม บนพื้นฐานของการใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างเหมาะสม ในการจัดการฟาร์ม การเตรียมความพร้อมการฝึกงานภายนอกหรือสหกิจศึกษา
ฝึกงานสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในฟาร์ม บนพื้นฐานของการใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างเหมาะสม ในการจัดการฟาร์ม การเตรียมความ
พร้อมการฝึกงานภายนอกหรือสหกิจศึกษา
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม เป็นความรับผิดชอบรอง
1.1.2 มีจรรยาบรรณ เป็นความรับผิดชอบหลัก
การเข้าชั้นเรียน มีความตรงเวลา
การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ รู้หน้าที่ของตนเอง และมีความซื่อสัตย์
สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอน
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กําหนด
(2) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทํางานที่ได้รับมอบหมาย
(3) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(4) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(5) ประเมินจากพฤติกรรมในการทํางานในชั้นเรียนทีไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ เป็นความรับผิดชอบรอง
2.1.2 มีความรอบรู้
เน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลียนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการให้โจทย์กรณี
ศึกษาในสภาพการณ์เลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
ประเมินจากรายงานทีนักศึกษาจัดทํา
3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
3.1.2 สามารถคิดริเริมสร้างสรรค์
3.1.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ เป็นความรับผิดชอบรอง
(1) บทบาทสมมติ สถานการณ์จําลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทําความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลทีได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กําหนด
(3) ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
ประเมินจากผลงานการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน
4.1.1 ภาวะผู้นํา เป็นความรับผิดชอบหลัก
4.1.2 มีจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบรอง
(1) สามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) มีภาวะผู้นําและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนําเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
5.1.1 มีทักษะการสื่อสาร
5.1.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นความรับผิดชอบรอง
วิเคราะห์สถานการณ์จําลองสถานการณ์เสมือนจริง หรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษา แล้วนําเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
(1) ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอข้อมูล
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจํากัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2.มีความรอบรู้ 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝรู้ และ รู้จัก วิธี การ เรียน รู้ 4.1 ภาวะการเป็นผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนักสาธารณะ 5.1 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.2 มีทักษะด้านการสื่อสาร
1 BSCAG214 ทักษะวิชาชีพสัตวศาสตร์ 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียน 1-10 การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วม 1-17 20%
2 หน่วยเรียนที่ 1-10 รายงาน และ การนำเสนองาน 1-17 40%
3 หน่วยเรียนที่ 1-10 ใบงาน แบบฝึกหัด 1-17 40%
เว็บไซต์ ทีเกียวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนหาข้อมูลเพิมเติมในการปรับปรุงการสอน
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิในรายหัวข้อ ตามทีคาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาโดยการใช้แบบประเมิน
นําผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาทีได้นําใช้วางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น