การบริหารการจัดซื้อและสินค้าคงคลัง

Purchasing and Inventory Management

1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการจัดซื้อ
2. เข้าใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงคลัง
3. สามารถกำหนดจุดสั่งซื้อและปริมาณสินค้า
4. สามารถทำการตรวจรับจัดเก็บสินค้า
5. มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และเจตคติที่ดีในวิชาชีพ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  ความเข้าใจในการบริหารการจัดซื้อ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบ ส่วนประกอบวิัสดุสินค้า ระเบียบวิธีการจัดซื้อ เทคนิคการเจรจาต่อรอง การกำหนดปริมาณการจัดซื้อ เวลาการจัดซื้อ การเลือกและหาแหล่งซื้อ การควบคุมสินค้าคงคลัง การตัดสินใจการผลิตหรือเลือกซื้อ วิธีการควบคุมและประเมินผลการจัดซื้อ รายงานการจัดซื้อ
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และควมรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3. มีภาวะความเป้นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญของงานที่ได้รับมอบหมายได้
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ความรู้ทางวิชาชีพ ที่มีต่อบุคคล องค์กร และสังคมได้
7. มีจิตสาธารณะและจิตสำนึกษรักษ์สิ่งแวดล้อม
8. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
9. ประพฤติปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
1.สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
2.ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1. หลักการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิผล
2. หลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในอาชีพ
3. หลักการคิดวิเคราะห์ การหาเหตุผล เพื่อการแก้ปัญหาและการจัดการ
4. หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่น และการปรับตัวในสังคม
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน 
1. มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ รวมถึงมีทักษะการวิจัยเบื้องต้น และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไทยประยุกต์ใช้ในงานที่ตอบสนองกับความต้องการขององค์กรได้
2. มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและภาษา
3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง สนใจใฝ่รู้ สนใจใฝ่รู้ เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และริเริ่มสร้างสรรค์
5. มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ จิตสำนึกษรักษ์สิ่งแวดล้อม และจิตสาธารณะ
6. ปฏิบัติตนและปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย
1. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
2. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
1.ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
2.ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อสารและการเรียนรู้ในชีวิตประจำวันในงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
2. แก้ไข วิเคราะห์ หาเหตุผล และจัดการกับปัญหาที่ไม่คุ้นเคยหรือซับซ้อนและเป็นนามธรรม ในงานอาชีพ โดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3. พัฒนาตนให้มีคุณลักษณะเหมาะสมกับงานอาชีพ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีคุณำาพตามหลักศาสนา วัฒนธรรม และหน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมสมัยใหม่
1.มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
2.มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
1. ตัดสินใจ วางแผน และแก้ไขปัญหาที่ไม่คุ้นเคยหรือซับซ้อน และเป็นนามธรรมในสาขางานอาชีพ
2. ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการแก้ไขปัญหาและการปฏบัติงานการจัดการ
3. บริหารจัดการ ประสานงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพการจัดการด้วยตนเอง
4. ปฏิบัติการด้านการจัดการตามหลักการและกระบวนการ โดยใช้เทคนิคและวิธีการวิจัยทางการจัดการ
1.การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
2. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา 
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล