เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

Information Technology for Works

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถติดตั้งและการบำรุงรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นได้
3. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจระบบสารสนเทศทางธุรกิจและการนำไปประยุกต์ใช้ รวมถึงรู้ถึงจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
1. เข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน ความหมาย องค์ประกอบ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet of Think) เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม (Block Chain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) 2. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ โดยประยุกต์ใช้จากกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง 3. มีคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบ ตระหนักถึงการเป็นพลเมืองดิจิทัล
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรู้พื้นฐาน ความหมาย องค์ประกอบ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet of Think)เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม (Block Chain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) กรณีศึกษาเทคโนโลยีดิจิทัลเชื่อมโยงอาชีพ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล
อาจารย์ประจ าวิชามีวิธีการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน โดยการให้คำปรึกษาในเวลาราชการเกี่ยวกับเนื้อหาที่สอนและ งานที่มอบหมายโดยเฉลี่ย 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ ต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถ ทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ
1) บรรยายพรอมยกตัวอยางกรณี ศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทาง จริยธรรมที่เกี่ยวของกับการใช้ เทคโนโลยี
2) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในระหว่างการจัดการ เรียนการสอน โดยยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริง บทบาท สมมติ หรือกรณีตัวอย่าง
1) ประเมินการตรงเวลาในการเข้า ชั้นเรียนจากสถิติการเข้าเรียน การส่งงานประเมินผลการนำเสนอ รายงานที่มอบหมาย
2) ประเมินจากพฤติกรรมของ ผู้เรียนระหว่างร่วมกิจกรรมการ เรียนการสอน
1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ ศึกษา
2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและ อธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
3) สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ คอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
1) บรรยาย อภิปราย การ น าเสนอรายงาน
2) การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นคว้าหา บทความขอมูลที่เกี่ยว ของโดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบ ปลายภาค และทดสอบ ภาคปฏิบัติดวยแบบทดสอบที่ เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2) ประเมินตามสภาพจริงจาก ผลงาน และการปฏิบัติของ นักศึกษา เช่นประเมินจาก ภาคปฏิบัติ
1) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็น ระบบ
2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมิน สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา อย่างสร้างสรรค์
3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1) บรรยาย
2) วิเคราะหกรณศีกษา ในการนำเทคโนโลยที่ทันสมัยมาใช้ในปัจจุบัน
3) การสะท้อนแนวคิดจากการ ประพฤติ
1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบ ปลายภาค และทดสอบ ภาคปฏิบัติดวยแบบทดสอบที่ เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2) ประเมินตามสภาพจริงจาก ผลงาน และการปฏิบัติของ นักศึกษา เช่นประเมินจาก ภาคปฏิบัติ
1) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวย ความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ เน้นงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล เช่น การระดมความคิดเห็น การอภิปราย หรือการสัมมนา เกี่ยวกับประเด็นที่นักศึกษาสนใจ
2) เปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนได้ เสนอความคิดเห็น โดยการจัด อภิปรายและเสวนางานที่ได้รับ มอบหมายให้ค้นคว้า
1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม และการแสดงออกของผู้เรียน ขณะทำกิจกรรมและงานที่ต้องมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคค
2) ติดตามการทำงานกลุ่มของ นักศึกษาเป็นระยะโดยการ สัมภาษณ์ และบันทึกพฤติกรรม เป็นรายบุคคล
1) มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ใน ปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
2) สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหา โดยใช้สารสนเทศคณิตศาสตร์หรือการ แสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้อง อย่างสร้างสรรค์
3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง ปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้ รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่าง เหมาะสม
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง จากเว็บไซตสื่อการสอน การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกสและทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีอ้างอิงจากแหลงที่มาข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ
2) นำเสนอโดยใชรูปแบบและ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1) ประเมินจากกิจกรรมการ เรียนการสอน ที่จัดในห้องเรียน เช่น การสังเกตพฤติกรรม การ สอบย่อย
2) การจัดทำรายงาน และ นำเสนอด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 แบบฝึกหัด 1 1-6 10
2 1-6 สอบกลางภาค 7 20
3 8-15 แบบฝึกหัด 2 8-15 10
4 8-16 สอบปลายภาค 17 20
5 1-16 งานกลุ่ม 16 30
6 1-16 จิตพิสัย 1-16 10
ผศ.ดร. ทนงศักดิ์ โสวจัสสตากุล,ผศ.ดร. เศรษฐชัย ชัยสนิท. (2563). หนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ. บริษัท วังอักษร จำกัด
- แบบสอบถามประเมินความพึงพอในการเรียนการสอน
- การสนทนาขณะเรียนของผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- ผลงานที่มอบหมายให้
- ประเมินจากผลการเรียนของนักศึกษา
- จำนวนนักศึกษาที่สอบมาตรฐานไอซีที ผ่านร้อยละ 80
ไม่มี
- ทวนสอบการประชุมโดยคณะกรรมการประจำหลักสูตร จากคะแนนรายงาน คะแนนสอบ และจำนวนนักศึกษาที่ สอบผ่านรายวิชา
- ทบทวนข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
- นำผลการประเมินการสอนและความคิดเห็นต่อรายวิชาของนักศึกษามาใช้พัฒนาและปรับปรุงการสอน