การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกล
Mechanical Engineering Laboratory
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การบิด การดึง การดัด และความล้า การสั่นสะเทือนทางกล การสมดุล ความเร่งของระบบเกียร์ การนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน การทำความเย็นและการปรับอากาศ การหาค่าความร้อนเชื้อเพลิง ปั๊ม กังหัน การไหลของของไหล และการสูญเสียเนื่องจากการไหล
ไม่มี
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับ คุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การบิด การดึง การดัด และความล้า การสั่นสะเทือนทางกล การสมดุล ความเร่งของระบบเกียร์ การนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน การทำความเย็นและการปรับอากาศ การหาค่าความร้อนเชื้อเพลิง ปั๊ม กังหัน การไหลของของไหล และการสูญเสียเนื่องจากการไหล
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ
2. ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผล กระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
2. ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผล กระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1. การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
3.3ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. การกระทำทุจริตในการสอบ
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
3.3ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. การกระทำทุจริตในการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิศวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1. บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง
2. มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2. มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2. ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2. สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรม เครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ใหม่ๆ
2. สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรม เครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ใหม่ๆ
1. กรณีศึกษาการประยุกต์ความรู้ด้านสถิตศาสตร์ในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล
2. ให้นักศึกษาค้นคว้า พร้อมทั้งจัดทำรายงานที่ได้จากการค้นคว้า
2. ให้นักศึกษาค้นคว้า พร้อมทั้งจัดทำรายงานที่ได้จากการค้นคว้า
1. การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
2. รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
2. รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
1. แบ่งกลุ่มให้ทำงานตามที่มอบหมาย
2. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
2. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
1. ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ
2 . ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3. ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการ เรียนการสอน
2 . ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3. ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการ เรียนการสอน
1. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
2. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลได้
2. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลได้
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
2. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
คู่มือปฏิบัติการประลองทางวิศวกรรมเครื่องกล
ประเมินจากผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ประเมินจากแบบประเมินผู้สอน แบบประเมินรายวิชา และการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา
นำผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มาทำการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน เช่น การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ4
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ4