หลักฟิสิกส์
Principle of Physics
1.1 เพื่อเข้าใจหลักการพื้นฐานทางฟิสิกส์ ตามหัวข้อต่าง ๆ ในคำอธิบายรายวิชา
1.2 เพื่อเข้าใจวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเทคโนโลยีและประยุกต์วิชาหลักฟิสิกส์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1.3 เพื่อฝึกและพัฒนาทักษะปฏิบัติการที่เป็นระบบ
1.4 เพื่อฝึกและพัฒนาทักษะวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เป็นระบบ
1.5 เพื่อสร้างเสริมจิตพิสัยในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบตา่มหลักทางวิทยาศาสตร์
1.2 เพื่อเข้าใจวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเทคโนโลยีและประยุกต์วิชาหลักฟิสิกส์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1.3 เพื่อฝึกและพัฒนาทักษะปฏิบัติการที่เป็นระบบ
1.4 เพื่อฝึกและพัฒนาทักษะวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เป็นระบบ
1.5 เพื่อสร้างเสริมจิตพิสัยในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบตา่มหลักทางวิทยาศาสตร์
2.1 ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.2 ส่งเสริมให้มีความรู้เพื่อเห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับสิ่งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ
2.3 สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.4 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
2.2 ส่งเสริมให้มีความรู้เพื่อเห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับสิ่งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ
2.3 สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.4 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาและปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับ จลนศาสตร์ พลศาสตร์ งานและพลังงาน คลื่น แสง เสียง ความร้อน กลศาสตร์ของไหล แม่เหล็กไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน
Study and practice of dynamic, work and energy, wave, light, sound, heat, fluid mechanics, electromagnetic and fundamental electronics.
Study and practice of dynamic, work and energy, wave, light, sound, heat, fluid mechanics, electromagnetic and fundamental electronics.
2
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การฝึกปฏิบัติการ
2. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem - solving)
4. การเรียนแบบตั้งคำถาม (Questioning)
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
2. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem - solving)
4. การเรียนแบบตั้งคำถาม (Questioning)
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. งานที่ได้มอบหมาย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. งานที่ได้มอบหมาย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด
3. การรายงานผลการปฏิบัติการ
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด
3. การรายงานผลการปฏิบัติการ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
1. แบบฝึกหัด
2. รายงานการทดลองและการนำเสนองาน
1. แบบฝึกหัด
2. รายงานการทดลองและการนำเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
3. สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำปฏิบัติการ
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
3. สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำปฏิบัติการ
1. ประเมินจากความรับผิดชอบ และการมีส่วนร่วมงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
มอบหมายงานกลุ่ม การนำเสนองาน
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.3, 2.1, 3.2 | ทดสอบย่อย* สอบกลางภาค* สอบปลายภาค* | 4, 8, 17 | 10%, 20%, 20% |
2 | 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 5.2 | ทำปฏิบัติการในชั้นเรียน ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน | 1-15 | 30% |
3 | 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 5.2 | งานที่มอบหมาย และ/หรือ แบบฝึกหัดประจำบท | 1-15 | 10% |
4 | 1.3 | การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม, การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ | 1-15 | 10% |
ปิยพงษ์ สิทธิคง, ผู้แปล. ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา เล่ม 2. กรุงเทพฯ: เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2547.
มนตรี พิรุณเกษตร รศ. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ฟิสิกส์ 2 ระดับมหาวิทยาลัย (ฉบับเสริมประสบการณ์). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น จำกัด, 2537.
มหาวิทยาลัย, ทบวง. ฟิสิกส์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคชัน, 2525.
ก่องกัญจน์ ภัทรกาญจน์, ธนกาญจน์ ภัทรกาญจน์. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2538.
Serway, R.A., and Jewett, J.W. (2010). Physic for scientists and engineers II (8th ed.). United States: Thomson Brooks/Cole.
Young, H.D., Freedman, R.A. (2012). University physics with modern physics (13th ed.). U.S.A.: Addison-Wesley.
Halliday, D., Resnick, R., & Walker, J. (2007). Fundamentals of Physics (8th ed.). New York: John Wiley & Sons. Inc.
มนตรี พิรุณเกษตร รศ. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ฟิสิกส์ 2 ระดับมหาวิทยาลัย (ฉบับเสริมประสบการณ์). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น จำกัด, 2537.
มหาวิทยาลัย, ทบวง. ฟิสิกส์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคชัน, 2525.
ก่องกัญจน์ ภัทรกาญจน์, ธนกาญจน์ ภัทรกาญจน์. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2538.
Serway, R.A., and Jewett, J.W. (2010). Physic for scientists and engineers II (8th ed.). United States: Thomson Brooks/Cole.
Young, H.D., Freedman, R.A. (2012). University physics with modern physics (13th ed.). U.S.A.: Addison-Wesley.
Halliday, D., Resnick, R., & Walker, J. (2007). Fundamentals of Physics (8th ed.). New York: John Wiley & Sons. Inc.
คณาจารย์กลุ่มวิชาฟิสิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร. (2568). คู่มือปฏิบัติการหลักฟิสิกส์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่, 1/2568.
แหล่งสืบค้นออนไลน์ ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
1. ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
2. การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. ผลการเรียนของนักศึกษา
2. การสังเกตการณ์การสอนของผู้สอน
2. การสังเกตการณ์การสอนของผู้สอน
1. ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
2. จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
2. จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
1. มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
2. มีการบันทึกหลังการสอน
2. มีการบันทึกหลังการสอน
1. นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป