เทคโนโลยีผักและผลไม้
Fruit and Vegetable Technology
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจถึงองค์ประกอบ โครงสร้าง และชนิดของผักและผลไม้
2. สามารถอธิบายกรรมวิธีการปฏิบัติต่อผักและผลไม่หลังการเก็บเกี่ยวได้
3. สามารถอธิบายลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของผักผลไม้และผลิตภัณฑ์
4. สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปผักผลไม้ด้วยวิธีต่าง ๆ ได้
5. สามารถอธิบายการเสื่อมเสียและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักผลไม้ได้
2. สามารถอธิบายกรรมวิธีการปฏิบัติต่อผักและผลไม่หลังการเก็บเกี่ยวได้
3. สามารถอธิบายลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของผักผลไม้และผลิตภัณฑ์
4. สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปผักผลไม้ด้วยวิธีต่าง ๆ ได้
5. สามารถอธิบายการเสื่อมเสียและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักผลไม้ได้
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการอุตสาหกรรมผักและผลไม้ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของผักและผลไม้ การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ เทคโนโลยีการแปรรูปผักและผลไม้โดยการใช้ความเย็น การทำผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้แห้ง การทำผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้บรรจุกระป๋อง การทำน้ำผักและน้ำผลไม้ การหมักดองผักและผลไม้ การแปรรูปผักและผลไม้โดยการใช้น้ำตาล
Study and practice of fruit and vegetable compositions; post-harvest management of fruit and vegetable; fruit and vegetable processing such as cold process, dehydration, canning, juice processing, fermentation and sugaring
Study and practice of fruit and vegetable compositions; post-harvest management of fruit and vegetable; fruit and vegetable processing such as cold process, dehydration, canning, juice processing, fermentation and sugaring
5 ชั่วโมง
1.1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.1 มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติการเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
1.2.2 อธิบายข้อปฏิบัติที่ดีในกระบวนก่อนและหลังการปฏิบัติที่ถูกสุขลักษณะในภาคปฏิบัติ และข้อควรปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามระเบียบสถานศึกษาหรือเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในสัปดาห์แรกของการเรียน
1.2.2 อธิบายข้อปฏิบัติที่ดีในกระบวนก่อนและหลังการปฏิบัติที่ถูกสุขลักษณะในภาคปฏิบัติ และข้อควรปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามระเบียบสถานศึกษาหรือเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในสัปดาห์แรกของการเรียน
1.3.1 ประเมินผลงานรายบุคคลหรือกลุ่ม (เอกสาร รายงาน) การส่งรายงานบทปฏิบัติการตามที่ได้รับมอบหมายตามระยะเวลาที่กำหนด
1.3.2 ประเมินวิธีการปฏิบัติที่ดีและการปฏิบัติโดยให้คะแนนกลุ่มหรือรายบุคคล และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนทุกครั้งตามระเบียบสถานศึกษา
1.3.2 ประเมินวิธีการปฏิบัติที่ดีและการปฏิบัติโดยให้คะแนนกลุ่มหรือรายบุคคล และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนทุกครั้งตามระเบียบสถานศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.1.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.1.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.1.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.2.1 บรรยายเกี่ยวกับองค์ประกอบ โครงสร้าง และชนิดของผักและผลไม้ ลักษณะ และการเปลี่ยนแปลงของผักผลไม้และผลิตภัณฑ์ การแปรรูปผักผลไม้ด้วยวิธีต่าง ๆ การเก็บรักษาและการเสื่อมเสีย
2.2.2 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางเทคโนโลยีผักและผลไม้
2.2.2 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางเทคโนโลยีผักและผลไม้
2.3.1 สอบข้อเขียนแบบอัตนัยและ/หรือแบบปรนัย
2.3.2 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางเทคโนโลยีผักและผลไม้ เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
2.3.2 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางเทคโนโลยีผักและผลไม้ เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
3.1.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.1.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.1.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.1.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.1.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.2.1 อธิบายวิธีการปฏิบัติให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์แต่ละขั้นตอนการผลิต
3.2.2 แบ่งกลุ่มนักศึกษาปฏิบัติ วิจารณ์ผลการปฏิบัติร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
3.2.2 แบ่งกลุ่มนักศึกษาปฏิบัติ วิจารณ์ผลการปฏิบัติร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
ประเมินทักษะปฏิบัติหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอน การแก้ปัญหาระหว่างปฏิบัติ และประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์สุดท้าย
4.1.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.1.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.1.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
4.2.3 อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
4.2.3 อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
4.3.1 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.3.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
4.3.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นจากการส่งรายงานบทปฏิบัติการ
4.3.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
4.3.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นจากการส่งรายงานบทปฏิบัติการ
5.1.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.1.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.1.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.1.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.1.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีผักและผลไม้ที่มีการตีพิมพ์ในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางเทคโนโลยีผักและผลไม้ เช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.2.1 แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
6.2.2 อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
6.2.3 ฝึกทักษะปฏิบัติตามลำดับขั้นตอน และมีการทดสอบภาคปฏิบัติ
6.2.2 อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
6.2.3 ฝึกทักษะปฏิบัติตามลำดับขั้นตอน และมีการทดสอบภาคปฏิบัติ
6.3.1 ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
6.3.2 ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
6.3.3 ประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย จากการทดสอบภาคปฏิบัติ
6.3.2 ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
6.3.3 ประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย จากการทดสอบภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์ | 6. ด้านทักษะ | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ | 2. แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต | 3. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | 4. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม | 5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น | 4. รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป | 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา | 2. มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ | 1. มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ | 2. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ | 3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 4. มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา | 1. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม | 2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ | 4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | 1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ | 2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ | 4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด | 5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม | 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 7. สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม | 1. ทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ |
1 | BSCFT122 | เทคโนโลยีผักและผลไม้ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1, 3.4, 4.1, 6.1 | 1) สอบกลางภาค (หน่วยที่ 1-4) 2) สอบปลายภาค (หน่วยที่ 5-8) 3) สอบปฏิบัติ | 9, 16, 17 | 35%, 20%, 10 % |
2 | 1.3, 5.6, 1.1, 4.1, 6.1, 1.1, 4.1 | 1) การนำเสนองานวิจัยและรายงาน 2) การทำงานกลุ่มและผลงาน 3) การส่งรายงานบทปฏิบัติการ | 15 และตลอดภาคการศึกษา | 10%ม 5%, 10% |
3 | 1.3, 3.1 | 1) การเข้าชั้นเรียน 2) การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 5%, 5% |
1. กรมวิชาการเกษตร. 2543. เยลลี่มะม่วง. วารสารสถาบันอาหาร, 3(14): 41-42.
2. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2562). สินค้าผัก ผลไม้กระป๋อง และแปรรูป. สืบค้น 22 เมษายน 2562, จาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/539767/539767.pdf.
3. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2562). พาณิชย์เปิดแผนดันยอดส่งออกผลไม้สด-แปรรูปทั่วโลก. สืบค้น 22 เมษายน 2562, จาก https://gnews.apps.go.th/news?news= 38674.
4. กรมอนามัย. (2561). ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
5. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2562, มกราคม). การจัดจำแนกไม้ผล. สืบค้น 12 มกราคม 2562, จาก http://www.agri.cmu.ac.th/course/359211/product01/ product_01_1_1.html.
6. จริงแท้ ศิริพานิช. (2549). สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
7. จุฑามาศ พีรพัชระ จอมขวัญ สุวรรณรักษ์ วรลักษณ์ ปัญญาธิติพงศ์ อินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์ และชนิดา ประจักษ์จิตร. 2555. การทำเยลลี่ผลไม้. เอกสารแจกในงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย ประจำปี 2555 (TechnoMart InnoMart 2012). กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ศุนย์ประชุมไบเทค กรุงเทพฯ.
8. งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. 2546. เอกสารประกอบการฝึกงานนักศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
9. ดนัย บุณยเกียรติ. (2556). สรีรวิทยาหลังการเก็บผลิตผลพืชสวน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
10. ทิพรัตน์ หงภัทรคีรี. 2547. การศึกษาการใช้พืชสมุนไพรและเครื่องเทศเพื่อเสริมกิจกรรมการกำจัดอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์ไวน์ผลไม้เมืองร้อน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 68 หน้า.
11. ทิพาพร อยู่วิทยา. 2534. เอกสารประกอบการฝึกอบรมเรื่อง วิธีการควบคุมกระบวนการผลิตอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 44 น.
12. เทวี โพธิผล. 2536. การใช้วัตถุเจือปนในอาหาร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี. 163 น.
13. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน. 2536. เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีผักและผลไม้. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง. 182 น.
14. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน. 2545. เรียนรู้การทำไวน์ผลไม้ด้วยตนเอง. ศิลปการพิมพ์ ลำปาง. 72 น.
15. ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. (2544). หลักการปลูกพืชผัก. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก https://www.ku.ac.th/e-magazine/january44/agri/plant/.
16. นิธิยา รัตนาปนนท์ และพิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (มปป.). Plant tissue /เนื้อเยื่อพืช. สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2878/ plant-tissue-เนื้อเยื่อพืช.
17. นิธิยา รัตนาปนนท์ และพิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (มปป.). Type of fruit/ชนิดของผลไม้. สืบค้น 12 มกราคม 2562, จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2915/ type-of-fruit-ชนิดของผลไม้.
18. นิรนาม. (2551). ฐานข้อมูลพืชผัก บทความเกษตร. การจำแนกประเภทของผัก. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=5&chap=1 &page=t5-1-infodetail02.htm.
14. นิรนาม. (2561). ตารางออกดอกออกผล ของผักผลไม้ในฤดูกาลต่างๆ ของไทย. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/116594.html.
19. นิรนาม. (มปป.). สารอาหารในพืชผัก นอกเหนือจากวิตามิน. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก http://www.healthcarethai.com/สารอาหารในพืชผัก/.
20. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. (2561). เซลล์พืช และส่วนประกอบภายในเซลล์. สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก https://ngthai.com/science/15022/plantcells/.
21. ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน. 2556. เทคโนโลยีผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 280 น.
22. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 213) พ.ศ. 2543 เรื่อง แยม เยลลี่ และมาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท.
23. มูลนิธิใบไม้เขียว. มปป. ปฏิทินผักและผลไม้. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก http://www.greenleafthai.org/th/vegetable_fruit/.
24. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
25. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน และพยุงศักดิ์ มะโนชัย. 2538. ผลของผงบุกและคาราจีแนนที่มีต่อคุณภาพของเยลลี่มะเกี๋ยง. การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว (ภาคโปสเตอร์ หน้า 302-308), การประชุมวิชาการครั้งที่ 3 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ.
26. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน ปัทมา ไทยอู่ และ ณัฐธมญ คิดชัย. 2557. รายงานการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากผักเชียงดา (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.). สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
27. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สุภาวดี แช่ม จิรภา พงษ์จันตา นิอร โฉมศรี รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา และพยุงศักดิ์ มะโนชัย. 2564. รายงานการวิจัย การสร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การพัฒนาชุมชนนวัตกรรมอย่างยั่งยืน. สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริม ววน. และหน่วย บพท. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
28. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สุภาวดี แช่ม จิรภา พงษ์จันตา นิอร โฉมศรี รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา และพยุงศักดิ์ มะโนชัย. 2566. รายงานการวิจัย การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงพาณิชย์และยกระดับห่วงโซ่คุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การพัฒนาชุมชนนวัตกรรมอย่างยั่งยืน. สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริม ววน. และหน่วย บพท. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
29. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2535. วิศวกรรมแปรรูปอาหาร: การถนอมอาหาร. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
30. ศิมาภรณ์ มีแสง ไพศาล วุฒิจำนง รุ่งนภา พงศ์สวัสดิมานิต และสุมนรัตน์ ชื่นพุฒิ. 2546. ผลของเจลาติน อัตราส่วนของซูโครส กลูโคสไซรัป และกรดซิตริก ต่อสมบัติทางกายภาพและคุณภาพทางประสามสัมผัสของผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร, หน้า 20-27, 3-7 ก.พ. 2546 กรุงเทพฯ.
31. วราวุฒิ ครูส่ง และรุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิตย์. 2532. เทคโนโลยีการหมักในอุตสาหกรรม. สำนักพิมพ์โอเดียน สโตร์, กรุงเทพ. 209 น.
32. วิลาสินี ดีปัญญา. 2552. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่มะขาม. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. 48 น.
33. วิไล รังสาดทอง. 2552. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด,กรุงเทพฯ. 500 หน้า
34. สุวรรณา สุภิมารส. 2543. เทคโนโลยีการผลิตลูกกวาดและชอกโกแลต. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
35. สินธนา สุคันธา. (2535). เอกสารประกอบการสอน ทอ. 402 การแปรรูปผักและผลไม้. เชียงใหม่: สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้.
36. สังคม เตชะวงค์เสถียร. 2552. เอกสารอ่านประกอบการสอน 113401 สรีรวิทยาของพืชสวน. สืบค้น 12 มกราคม 2562, จาก https://ag.kku.ac.th/suntec/113401/index 113401.htm/.
37. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2547. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เยลลี่เหลว (มผช. 512/2547).
38. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2547. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเยลลี่แห้ง (มผช. 520/2547).
39. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านพืชสวน/พืชไร่ (ข้าวโพด ไม้ผล พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ). สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
40. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการเกษตรของประเทศไทย ปี 2561. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/ jounal/2561/indicator 61.pdf.
41. อติโรจน์ ปพัฒน์เปรมสิริ. (2560). โครงสร้างพืช (plant structure). สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก https:// www.scimath.org/lesson-biology/item/7039-plant-structure.
42. อรพิน ชัยประสพ. 2524. การกำจัดรสขมในน้ำผลไม้จากพืชตระกูลส้ม. อาหาร 21 (2): 87-93.
43. Brown, C.A. (2011). Understanding Food : Principles and Preparation (4th Ed.). Boston, USA : Cengage.
44. Chen, M. and Blankenship, R.E. (2011). Expanding the solar spectrum used by photosynthesis. Trends in Plant Science, 16, 427-431.
45. Demars, L.L. and Ziegler, G. 1996. Texture and structure of gelatin / HM pectin-based gummy confections. IFT Annual Meeting: Book of Abstracts, p.114.
46. Erkmen, O. and Bozoglu, T.F. (2016). Food Microbiology: Principles into Practice, Chichester, England: Wiley–Blackwell.
47. Fellows, P. J. 1990. Food Processing Technology Principles and Practice. Ellis Horwood Limited, New York. 505 p.
48. Fiedor, J. and Burda, K. (2014). Potential role of carotenoids as antioxidants in human health and disease. Nutrients, 6(2): 466-88.
49. Gladish, K.D. (n.d.). Chapter 4 The Organization Of The Plant Body. Retrieved March 12, 2019, from http://www-plb.ucdavis.edu/courses/bis/1c/text/Chapter4nf.pdf.
50. Garcia, T. 2000. Analysis of gelatin-based confections. The Manufacturing Confectioner, 80(6): 93-101.
51. Hounsome, N. and Hounsome, B. (2011). Biochemistry of vegetables: major classes of primary (Carbohydrates, amino acids, fatty acids, vitamins, and organic Acids) and secondary metabolites (terpenoids, phenolics, alkaloids, and sulfur-containing compounds) in vegetables. in N. Sinha, H. Hui, E. Özgül Evranuz, M. Siddiq and J. Ahmed. (eds.), Handbook of Vegetables and Vegetable Processing. Blackwell Publishing Ltd, USA.
52. Kasaai, MR. (2014). Use of Water Properties in Food Technology: A Global View, International Journal of Food Properties, 17(5), 1034-1054.
53. Kunzmann, A.T., Coleman, H.G., Huang, W.Y., Kitahara, C.M., Cantwell, M.M., & Berndt, S. I. (2015). Dietary fiber intake and risk of colorectal cancer and incident and recurrent adenoma in the prostate, lung, colorectal, and ovarian cancer screening trial. The American Journal of Clinical Nutrition, 102(4), 881-890.
54. Lees, R. and Jackson, E.B. 1973. Sugar Confectionery and Chocolate Manufacture. Leonard Hill Books, New York.
55. Martin Juneau, M.D. (2018). The effects of berries on cardiovascular health. Prevention Watch. Retrieved from https://observatoireprevention.org/en /2018/08/01/the-effects-of-berries-on-cardiovascular-health/.
56. Minatel, I.O., Borges, C.V., Ferreira, H.A., Chen, C.O., & Lima, G.P. (2017). Phenolic compounds: Functional properties, impact of processing and bioavailability. IntechOpen. Retrieved from https://www.intechopen.com/books/phenolic-compounds-biological-activity/phenolic-compounds-functional-properties-impact-of-processing-and-bioavailability, May 1, 2020.
57. Postharvest Management of Vegetables. (n.d.). Postharvest fundamentals : Vegetable Physiology : Structure and Composition. Retrieved from https://www.postharvest.net.au/postharvest-fundamentals/vegetable-physiology/structure-and-composition/.
58. Prasad, K. (2015). Characterization of dehydrated functional fractional radish leaf powder. Der Pharmacia Lettre, 7(1), 269-279.
59. Rankine, B. 1989. Making Good Wine. The Macmillan Company of Australia PTY LTD. 374 p.
60. Radovich, T.J.K. (2011). Biology, Biochemistry, Nutrition, Microbiology, and Genetics, pp. 3-22. in N. Sinha, H. Hui, E. Özgül Evranuz, M. Siddiq and J. Ahmed. (eds.), Handbook of Vegetables and Vegetable Processing. USA: Blackwell Publishing Ltd.
61. Wiley, R.C. 1994. Minimally Processed Refrigerated Fruits & Vegetables. Chapman & Hall, New York, USA. 373 p.
62. Sadighara, P., Saghafi, M., Erfanmanesh, A., & Mahdaviyekta, M. (2016). Antioxidant activity and properties of outer shell pistachios in different temperature of cooking. Der Pharmacia Lettre, 8(12), 263-266.
63. Singleton, A., & Buttle, D.J. (2013). Ficain, pp. 1877-1879. in N.D. Rawlings and G. Salvesen (eds.), Handbook of Proteolytic Enzymes (3rd Ed.) USA: Academic Press.
64. Stahl, W., & Sies, H. (2005). Bioactivity and protective effects of natural carotenoids. Biochimica et Biophysica Acta, 1740(2), 101-107.
65. The Editors of Encyclopaedia Britannica. (2019). Parenchyma. Retrieved March 12, 2019, from https://www.britannica.com/science/parenchyma-plant-tissue.
66. Valero, D. and Serrano, M. (2010. Postharvest Biology and Technology For Preserving Fruit Quality. USA: CRC Press, Taylor & Francis Group.
67. Woo A. 1996. Use of organic acids in confectionery. The manufacturing confectioner, 78(8): 63-70.
68. http://eu.lib.kmutt.ac.th/elearning/Courseware/BCT611/Chap4/Chap4_intro.htm (สมบัติทางเคมีของคาร์โบไฮเดรท-ไฮโดรคอลลอยด์และการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม)
69. www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1274/carrageenan-คาร์ราจีแนน
70. www.halamixgelatin.com/TH/fish_gellatin.php
71. www.halalscience.org/uploadfiles/hal2.pdf (เจลาตินในผลิตภัณฑ์อาหารและการวิเคราะห์)
72. www.modernparentsmessykids.com/2014/04/rainbow-healthy-homemade-gummy-snacks.html
2. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2562). สินค้าผัก ผลไม้กระป๋อง และแปรรูป. สืบค้น 22 เมษายน 2562, จาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/539767/539767.pdf.
3. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2562). พาณิชย์เปิดแผนดันยอดส่งออกผลไม้สด-แปรรูปทั่วโลก. สืบค้น 22 เมษายน 2562, จาก https://gnews.apps.go.th/news?news= 38674.
4. กรมอนามัย. (2561). ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
5. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2562, มกราคม). การจัดจำแนกไม้ผล. สืบค้น 12 มกราคม 2562, จาก http://www.agri.cmu.ac.th/course/359211/product01/ product_01_1_1.html.
6. จริงแท้ ศิริพานิช. (2549). สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
7. จุฑามาศ พีรพัชระ จอมขวัญ สุวรรณรักษ์ วรลักษณ์ ปัญญาธิติพงศ์ อินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์ และชนิดา ประจักษ์จิตร. 2555. การทำเยลลี่ผลไม้. เอกสารแจกในงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย ประจำปี 2555 (TechnoMart InnoMart 2012). กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ศุนย์ประชุมไบเทค กรุงเทพฯ.
8. งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. 2546. เอกสารประกอบการฝึกงานนักศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
9. ดนัย บุณยเกียรติ. (2556). สรีรวิทยาหลังการเก็บผลิตผลพืชสวน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
10. ทิพรัตน์ หงภัทรคีรี. 2547. การศึกษาการใช้พืชสมุนไพรและเครื่องเทศเพื่อเสริมกิจกรรมการกำจัดอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์ไวน์ผลไม้เมืองร้อน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 68 หน้า.
11. ทิพาพร อยู่วิทยา. 2534. เอกสารประกอบการฝึกอบรมเรื่อง วิธีการควบคุมกระบวนการผลิตอาหารกระป๋องที่มีความเป็นกรดต่ำ. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 44 น.
12. เทวี โพธิผล. 2536. การใช้วัตถุเจือปนในอาหาร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี. 163 น.
13. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน. 2536. เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีผักและผลไม้. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง. 182 น.
14. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน. 2545. เรียนรู้การทำไวน์ผลไม้ด้วยตนเอง. ศิลปการพิมพ์ ลำปาง. 72 น.
15. ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. (2544). หลักการปลูกพืชผัก. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก https://www.ku.ac.th/e-magazine/january44/agri/plant/.
16. นิธิยา รัตนาปนนท์ และพิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (มปป.). Plant tissue /เนื้อเยื่อพืช. สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2878/ plant-tissue-เนื้อเยื่อพืช.
17. นิธิยา รัตนาปนนท์ และพิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (มปป.). Type of fruit/ชนิดของผลไม้. สืบค้น 12 มกราคม 2562, จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2915/ type-of-fruit-ชนิดของผลไม้.
18. นิรนาม. (2551). ฐานข้อมูลพืชผัก บทความเกษตร. การจำแนกประเภทของผัก. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=5&chap=1 &page=t5-1-infodetail02.htm.
14. นิรนาม. (2561). ตารางออกดอกออกผล ของผักผลไม้ในฤดูกาลต่างๆ ของไทย. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/116594.html.
19. นิรนาม. (มปป.). สารอาหารในพืชผัก นอกเหนือจากวิตามิน. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก http://www.healthcarethai.com/สารอาหารในพืชผัก/.
20. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. (2561). เซลล์พืช และส่วนประกอบภายในเซลล์. สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก https://ngthai.com/science/15022/plantcells/.
21. ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน. 2556. เทคโนโลยีผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 280 น.
22. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 213) พ.ศ. 2543 เรื่อง แยม เยลลี่ และมาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท.
23. มูลนิธิใบไม้เขียว. มปป. ปฏิทินผักและผลไม้. สืบค้น 2 มกราคม 2562, จาก http://www.greenleafthai.org/th/vegetable_fruit/.
24. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
25. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน และพยุงศักดิ์ มะโนชัย. 2538. ผลของผงบุกและคาราจีแนนที่มีต่อคุณภาพของเยลลี่มะเกี๋ยง. การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว (ภาคโปสเตอร์ หน้า 302-308), การประชุมวิชาการครั้งที่ 3 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ.
26. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน ปัทมา ไทยอู่ และ ณัฐธมญ คิดชัย. 2557. รายงานการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากผักเชียงดา (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.). สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
27. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สุภาวดี แช่ม จิรภา พงษ์จันตา นิอร โฉมศรี รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา และพยุงศักดิ์ มะโนชัย. 2564. รายงานการวิจัย การสร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การพัฒนาชุมชนนวัตกรรมอย่างยั่งยืน. สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริม ววน. และหน่วย บพท. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
28. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สุภาวดี แช่ม จิรภา พงษ์จันตา นิอร โฉมศรี รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา และพยุงศักดิ์ มะโนชัย. 2566. รายงานการวิจัย การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงพาณิชย์และยกระดับห่วงโซ่คุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การพัฒนาชุมชนนวัตกรรมอย่างยั่งยืน. สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริม ววน. และหน่วย บพท. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
29. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2535. วิศวกรรมแปรรูปอาหาร: การถนอมอาหาร. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
30. ศิมาภรณ์ มีแสง ไพศาล วุฒิจำนง รุ่งนภา พงศ์สวัสดิมานิต และสุมนรัตน์ ชื่นพุฒิ. 2546. ผลของเจลาติน อัตราส่วนของซูโครส กลูโคสไซรัป และกรดซิตริก ต่อสมบัติทางกายภาพและคุณภาพทางประสามสัมผัสของผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร, หน้า 20-27, 3-7 ก.พ. 2546 กรุงเทพฯ.
31. วราวุฒิ ครูส่ง และรุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิตย์. 2532. เทคโนโลยีการหมักในอุตสาหกรรม. สำนักพิมพ์โอเดียน สโตร์, กรุงเทพ. 209 น.
32. วิลาสินี ดีปัญญา. 2552. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมี่เยลลี่มะขาม. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. 48 น.
33. วิไล รังสาดทอง. 2552. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด,กรุงเทพฯ. 500 หน้า
34. สุวรรณา สุภิมารส. 2543. เทคโนโลยีการผลิตลูกกวาดและชอกโกแลต. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
35. สินธนา สุคันธา. (2535). เอกสารประกอบการสอน ทอ. 402 การแปรรูปผักและผลไม้. เชียงใหม่: สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้.
36. สังคม เตชะวงค์เสถียร. 2552. เอกสารอ่านประกอบการสอน 113401 สรีรวิทยาของพืชสวน. สืบค้น 12 มกราคม 2562, จาก https://ag.kku.ac.th/suntec/113401/index 113401.htm/.
37. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2547. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เยลลี่เหลว (มผช. 512/2547).
38. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2547. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเยลลี่แห้ง (มผช. 520/2547).
39. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านพืชสวน/พืชไร่ (ข้าวโพด ไม้ผล พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ). สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
40. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการเกษตรของประเทศไทย ปี 2561. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/ jounal/2561/indicator 61.pdf.
41. อติโรจน์ ปพัฒน์เปรมสิริ. (2560). โครงสร้างพืช (plant structure). สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก https:// www.scimath.org/lesson-biology/item/7039-plant-structure.
42. อรพิน ชัยประสพ. 2524. การกำจัดรสขมในน้ำผลไม้จากพืชตระกูลส้ม. อาหาร 21 (2): 87-93.
43. Brown, C.A. (2011). Understanding Food : Principles and Preparation (4th Ed.). Boston, USA : Cengage.
44. Chen, M. and Blankenship, R.E. (2011). Expanding the solar spectrum used by photosynthesis. Trends in Plant Science, 16, 427-431.
45. Demars, L.L. and Ziegler, G. 1996. Texture and structure of gelatin / HM pectin-based gummy confections. IFT Annual Meeting: Book of Abstracts, p.114.
46. Erkmen, O. and Bozoglu, T.F. (2016). Food Microbiology: Principles into Practice, Chichester, England: Wiley–Blackwell.
47. Fellows, P. J. 1990. Food Processing Technology Principles and Practice. Ellis Horwood Limited, New York. 505 p.
48. Fiedor, J. and Burda, K. (2014). Potential role of carotenoids as antioxidants in human health and disease. Nutrients, 6(2): 466-88.
49. Gladish, K.D. (n.d.). Chapter 4 The Organization Of The Plant Body. Retrieved March 12, 2019, from http://www-plb.ucdavis.edu/courses/bis/1c/text/Chapter4nf.pdf.
50. Garcia, T. 2000. Analysis of gelatin-based confections. The Manufacturing Confectioner, 80(6): 93-101.
51. Hounsome, N. and Hounsome, B. (2011). Biochemistry of vegetables: major classes of primary (Carbohydrates, amino acids, fatty acids, vitamins, and organic Acids) and secondary metabolites (terpenoids, phenolics, alkaloids, and sulfur-containing compounds) in vegetables. in N. Sinha, H. Hui, E. Özgül Evranuz, M. Siddiq and J. Ahmed. (eds.), Handbook of Vegetables and Vegetable Processing. Blackwell Publishing Ltd, USA.
52. Kasaai, MR. (2014). Use of Water Properties in Food Technology: A Global View, International Journal of Food Properties, 17(5), 1034-1054.
53. Kunzmann, A.T., Coleman, H.G., Huang, W.Y., Kitahara, C.M., Cantwell, M.M., & Berndt, S. I. (2015). Dietary fiber intake and risk of colorectal cancer and incident and recurrent adenoma in the prostate, lung, colorectal, and ovarian cancer screening trial. The American Journal of Clinical Nutrition, 102(4), 881-890.
54. Lees, R. and Jackson, E.B. 1973. Sugar Confectionery and Chocolate Manufacture. Leonard Hill Books, New York.
55. Martin Juneau, M.D. (2018). The effects of berries on cardiovascular health. Prevention Watch. Retrieved from https://observatoireprevention.org/en /2018/08/01/the-effects-of-berries-on-cardiovascular-health/.
56. Minatel, I.O., Borges, C.V., Ferreira, H.A., Chen, C.O., & Lima, G.P. (2017). Phenolic compounds: Functional properties, impact of processing and bioavailability. IntechOpen. Retrieved from https://www.intechopen.com/books/phenolic-compounds-biological-activity/phenolic-compounds-functional-properties-impact-of-processing-and-bioavailability, May 1, 2020.
57. Postharvest Management of Vegetables. (n.d.). Postharvest fundamentals : Vegetable Physiology : Structure and Composition. Retrieved from https://www.postharvest.net.au/postharvest-fundamentals/vegetable-physiology/structure-and-composition/.
58. Prasad, K. (2015). Characterization of dehydrated functional fractional radish leaf powder. Der Pharmacia Lettre, 7(1), 269-279.
59. Rankine, B. 1989. Making Good Wine. The Macmillan Company of Australia PTY LTD. 374 p.
60. Radovich, T.J.K. (2011). Biology, Biochemistry, Nutrition, Microbiology, and Genetics, pp. 3-22. in N. Sinha, H. Hui, E. Özgül Evranuz, M. Siddiq and J. Ahmed. (eds.), Handbook of Vegetables and Vegetable Processing. USA: Blackwell Publishing Ltd.
61. Wiley, R.C. 1994. Minimally Processed Refrigerated Fruits & Vegetables. Chapman & Hall, New York, USA. 373 p.
62. Sadighara, P., Saghafi, M., Erfanmanesh, A., & Mahdaviyekta, M. (2016). Antioxidant activity and properties of outer shell pistachios in different temperature of cooking. Der Pharmacia Lettre, 8(12), 263-266.
63. Singleton, A., & Buttle, D.J. (2013). Ficain, pp. 1877-1879. in N.D. Rawlings and G. Salvesen (eds.), Handbook of Proteolytic Enzymes (3rd Ed.) USA: Academic Press.
64. Stahl, W., & Sies, H. (2005). Bioactivity and protective effects of natural carotenoids. Biochimica et Biophysica Acta, 1740(2), 101-107.
65. The Editors of Encyclopaedia Britannica. (2019). Parenchyma. Retrieved March 12, 2019, from https://www.britannica.com/science/parenchyma-plant-tissue.
66. Valero, D. and Serrano, M. (2010. Postharvest Biology and Technology For Preserving Fruit Quality. USA: CRC Press, Taylor & Francis Group.
67. Woo A. 1996. Use of organic acids in confectionery. The manufacturing confectioner, 78(8): 63-70.
68. http://eu.lib.kmutt.ac.th/elearning/Courseware/BCT611/Chap4/Chap4_intro.htm (สมบัติทางเคมีของคาร์โบไฮเดรท-ไฮโดรคอลลอยด์และการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม)
69. www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1274/carrageenan-คาร์ราจีแนน
70. www.halamixgelatin.com/TH/fish_gellatin.php
71. www.halalscience.org/uploadfiles/hal2.pdf (เจลาตินในผลิตภัณฑ์อาหารและการวิเคราะห์)
72. www.modernparentsmessykids.com/2014/04/rainbow-healthy-homemade-gummy-snacks.html
1. วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of the Science of Food and Agriculture
2. เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีผักและผลไม้ในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีผักและผลไม้จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีผักและผลไม้ในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีผักและผลไม้จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
ระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ