ธุรกิจดิจิทัล

Digital Business

เพื่อให้นักศึกษามีควา่มรู้และเข้าใจเกี่ยวกับธุรกิจดิจิทัลเบื้องต้น องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของธุรกิจดิจิทัล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกิจดิจิทัล การวิเคราะห์และพัฒนาธุรกิจด้วยแบบจำลองธุรกิจ(Business Model Canvas) กระบวนการทางธุรกิจ ตัวแบบธุรกิจ หลักการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรสำหรับธุรกิจดิจิทัล การวางแผนทรัพยากรองค์กร การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล กรรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัลรวมถึงแนวโน้มของธุรกิจดิจิทัลในอนาคต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับควา่มรู้เบื้องต้นของธุรกิจดิจิทัล องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของธุรกิจดิจิทัล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกิจดิจิทัล การวิเคราะห์และพัฒนาธุรกิจด้วยแบบจำลองธุรกิจ(Business Model Canvas) กระบวนการทางธุรกิจ ตัวแบบธุรกิจ หลักการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรสำหรับธุรกิจดิจิทัล การวางแผนทรัพยากรองค์กร การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัลรวมถึงแนวโน้มของธุรกิจดิจิทัลในอนาคต
3.1 ทุกวัน  เวลา 8.00 - 17.00 น. ห้องเทคโนโลยีสารสนเทศ  โทร 055-298465 ต่อ 1151  
3.2  e-mail; amitta@rmutl.ac.th,  24 ชั่วโมงทุกวัน
1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือผลงานของผู้อื่น 
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การนำเสนองาน การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน
ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชา การมอบหมายให้นักศึกษาทำผลงาน นำเสนอผลงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
ประเมินการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำผลงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
มอบหมายงานกลุ่มรายบุคคล รายกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
- การนำเสนอผลงาน - การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1 BSCCT219 ธุรกิจดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,2.3 สอบกลางภาค 7 30%
2 2.8,3.1,3.4 สอบปลายภาค 17 35%
3 1.2,1.5,1.7 การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัยและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การเคารพกฎข้อคับ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 5.1,5.4,4.4,4.1,2.1,2.2 งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดปีการศึกษา 10%
5 2.2,2.8,3.4,4.1,4,4,4.5,5.1,5.3,5.4 นำเสนอผลงาน 16 15%
ศิรินันท์ เหลืองอภิรมย์(2566), พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic), ซีเอ็ดยูเคชั่น (SE-ED):กรุงเทพฯ.
-  เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการโดย 1.1 แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย  1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา 2.2   การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย 2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา 3.2   การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้            4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง            4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
ผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยมีการปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป