สัมมนาการบัญชีเชิงบูรณาการ

Integrated in Accounting Seminar

ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ ประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบัญชีที่น่าสนใจ รวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากบทความทางวิชาการ งานวิจัย เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบูรณาการทางการบัญชีกับเทคโนโลยี นวัตกรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการทำโครงงาน (Project Base) ฝึกทักษะการนำเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
เพื่อศึกษา ค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ ประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบัญชีที่น่าสนใจ รวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากบทความทางวิชาการ งานวิจัย เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบูรณาการทางการบัญชีกับเทคโนโลยี นวัตกรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการทำโครงงาน (Project Base) ฝึกทักษะการนำเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ ประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบัญชีที่น่าสนใจ รวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากบทความทางวิชาการ งานวิจัย เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบูรณาการทางการบัญชีกับเทคโนโลยี นวัตกรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการทำโครงงาน (Project Base) ฝึกทักษะการนำเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
1. มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน  2. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
เน้นหลักการทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้เป็นไปตามเนื้อหาสาระของคำอธิบายรายวิชา ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลโดยการทำงานเป็นกลุ่ม และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนการสอน
1. งานที่ได้รับมอบหมาย 2. การทดสอบ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 1.มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2.มีความสามารถในการเรียนรู้ และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก
 
ให้นักศึกษาเรียนรู้จากการจัดสัมมนาของแต่ละกลุ่ม ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ข้อมูลของแต่ละกลุ่มที่นำเสนอและเสนอแนะข้อคิดเห็นในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์
ประเมินจากการซักถาม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่ม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 1.มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยให้จัดในรูปแบบของการสัมมนา
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน ประเมินจากการจัดสัมมนา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 1.มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพืิ่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ 2.มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
 
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ให้นำเสนองานที่ได้รับมอบหมายของแต่ละกลุ่มโดยกำหนดให้เป็นพิธีกร วิทยากร และอื่นๆ ตามรูปแบบของการสัมมนา
ประเมินจากผลงานที่ได้สืบค้นทางอินเตอร์เน็ต ประเมินจากกิจกรรมของการจัดสัมมนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,4,5 - ประเมินจากการส่งเล่มรายงาน - ประเมินจากการจัดสัมมนา - ทำแบบทดสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 100%
1) สภาวิชาชีพบัญชี  www.tfac.or.th  2) กรมสรรพากร  www.rd.go.th  3) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  www.sec.or.th  4) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  www.set.or.th  5) ธนาคารแห่งประเทศไทย  www.bot.or.th  6) กรมศุลกากร  www.customs.go.th  7) กรมสรรพาสามิต  www.excise.go.th  8) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์  www.dbd.go.th  9) กระทรวงแรงงาน  www.mol.go.th
 
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้ การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้ สังเกตการมีส่วนร่วมในการจัดสัมมนา สังเกตจากการเป็นผู้ดำเนินการจัดสัมมนา การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ทดสอบวัดผลการเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้ ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้ ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ