การเตรียมศิลปนิพนธ์แฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Fashion, Textile, and Jewelry Thesis Preparation
1.1 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการกำหนดหัวข้อศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับ
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีการดำเนินการศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปประเด็น ศิลปะนิพนธด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.4 เพื่อให้บอกและอธิบายวิธีการดำเนินการศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.5 เพื่อให้เขียนเอกสารโครงร่างศิลปะนิพนธ์ทางด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.6 เพื่อให้เห็นความสำคัญของการเตรียมศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับ
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีการดำเนินการศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจหลักการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปประเด็น ศิลปะนิพนธด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.4 เพื่อให้บอกและอธิบายวิธีการดำเนินการศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.5 เพื่อให้เขียนเอกสารโครงร่างศิลปะนิพนธ์ทางด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับได้อย่างถูกต้อง
1.6 เพื่อให้เห็นความสำคัญของการเตรียมศิลปะนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอและเครื่องประดับ
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ และเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดหัวข้อศิลปนิพนธ์ การกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตของศิลปนิพนธ์ และวิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้าเพื่อเสนอขอความเห็นชอบต่อที่ปรึกษาและคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Study and identify an art thesis topic, defining objectives, the scope of
the study, and research procedure to an art research advisor and
committee; collecting and analyzing, concluding problems to seek their
solutions relating to fashion, textile, and jewelry.
Study and identify an art thesis topic, defining objectives, the scope of
the study, and research procedure to an art research advisor and
committee; collecting and analyzing, concluding problems to seek their
solutions relating to fashion, textile, and jewelry.
3.1 อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน หรือในชั้นเรียน
3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียนอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียนอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายและสอดแทรก เรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านศิลปนิพนธ์ด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1.2.2 สอนด้วยกระบวนการกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
1.2.2 สอนด้วยกระบวนการกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา ขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่ม
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่ม
1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
1) บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1 สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค จากโจทย์ที่เป็นประเด็นปัญหาด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2.3.2 สอบปฏิบัติย่อยระหว่างภาค ในเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นปัญหาด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2.3.2 สอบปฏิบัติย่อยระหว่างภาค ในเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นปัญหาด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
1) สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
1) บรรยายโดยใช้กรณีศึกษา การจัดทำทำศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงาน
4) ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองานโดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม
4) ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองานโดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม
3.3.1 สอบทฤษฎีหลักการศึกษาข้อมูลของศิลปนิพนธ์ในชั้นเรียน
3.3.4 ผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปรายประเด็นทางด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ หรือในชั้นเรียน
3.3.4 ผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปรายประเด็นทางด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ หรือในชั้นเรียน
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
2) สอดแทรกเนื้อหาเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม โดยมอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม
3) การให้ความรู้ให้เกิดความตระหนักเรื่องการเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งาน
3) การให้ความรู้ให้เกิดความตระหนักเรื่องการเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งาน
2) ประเมินจากพฤติกรรมที่ร่วมกันอภิปราย พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมในชั้นเรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นหรือกิจกรรม ในชั้นเรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นหรือกิจกรรม ในชั้นเรียน
1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง ทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ แล้วนำเสนอการแก้ปัญหา
2) เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสารญหาที่เหมาะสม
2) เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสารญหาที่เหมาะสม
1) ผลของกิจกรรมด้านออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ที่มีการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
2) ความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย
2) ความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BAATJ176 | การเตรียมศิลปนิพนธ์แฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 -2.3 | 1.1 สอบปฏิบัติกลางภาค ในชั้นเรียน 1.2 สอบปฏิบัติปลายภาค ในชั้นเรียน | 9 และ 17 | สัปดาห์ละ 15 เปอร์เซ็นต์ |
2 | 3.1-5.1 | 2.1 ผลการศึกษาประเด็นปัญหางานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับเพื่อนำมาเขียนโครงร่างวิจัย 2.2 การนำเสนอ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้น 2.3 ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 60 เปอร์เซ็นต์ |
3 | 1.1-1.3 3.1 | สังเกตการณ์เข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจ | ตลอดภาคการศึกษา | 10 เปอร์เซ็นต์ |
นิรัช สุดสังข์ (2559). ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ.กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง.
วรรณดี สุทธินรากร (2561). การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สยาม
ปริทัศน์.
องอาจ นัยพัฒน์ (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สามลดา.
อมรรัตน์ อนันต์วราพงษ์ (2560). หลักการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณดี สุทธินรากร (2561). การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สยาม
ปริทัศน์.
องอาจ นัยพัฒน์ (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สามลดา.
อมรรัตน์ อนันต์วราพงษ์ (2560). หลักการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2.1 ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 2.2 ข้อมูลจากสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
2.3 ข้อมูลด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ จากแหล่งต่างๆ และจากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศ.ศ.ป)
2.3 ข้อมูลด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ จากแหล่งต่างๆ และจากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศ.ศ.ป)
3.1 ฐานข้อมูลวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ทั้งในและต่างประเทศ
3.2 การลงพื้นที่จริงเพื่อกำหนดประเด็นปัญหา
3.3 ข้อมูลจากการพบปะ พูดคุย กับบุคคลต่างๆ
3.2 การลงพื้นที่จริงเพื่อกำหนดประเด็นปัญหา
3.3 ข้อมูลจากการพบปะ พูดคุย กับบุคคลต่างๆ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้คือ
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน
1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน
1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาในชั้นเรียน
2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.4 การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานเขียนในชั้นเรียน
2.1 การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาในชั้นเรียน
2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.4 การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานเขียนในชั้นเรียน
3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนในชั้นเรียน ให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนในชั้นเรียน ที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนในชั้นเรียน ที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรในชั้นเรียน เพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรในชั้นเรียน เพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา