การควบคุมสภาวะแวดล้อมในอาคารเพื่อความยั่งยืน

Environment Control in Building for Sustainability

จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์ การนำ พลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม การออกแบบโดยวิธีธรรมชาติ ทั้งเรื่องการใช้แสง ธรรมชาติ การพัดผ่านของกระแสลม การใช้ประโยชน์จากสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ที่สามารถควบคุม สภาวะแวดล้อมอย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์ การออกแบบโดยวิธีธรรมชาติ การพัดผ่านของกระแสลม ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิและความชื้น การนำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม เพื่อนำมาออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีแนวโน้มของการทันต่อกระแสโลก
ศึกษาพัฒนาการและแนวคิดสถาปัตยกรรมยั่งยืน หลักการออกแบบสภาวะแวดล้อมในงานสถาปัตยกรรม อิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์เทคโนโลยีและนวัตกรรมการควบคุมสภาวะแวดล้อม ทั้งวิธีธรรมชาติและวิธีกล ฝึกปฏิบัติด้วยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลนำไปสู่การออกแบบ สถาปัตยกรรมเชิงนวัตกรรม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยระบุวัน เวลา ด้วยการแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1. ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ ทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม 2. ให้ความร่วมมือในทีมงานช่วยเหลือ ชุมชนและสังคม 3. ยอมรับคุณค่าทางความคิด และ ทรัพย์สินทางปัญญา 4. ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดง ความคิดเห็น
1. สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน 2. สอนความรู้ จรรยาบรรณ ทางด้านวิชาการและวิชาชีพใน รายวิชา 3. ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิต สาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษา เข้าร่วมในการให้บริการวิชาการ และวิชาชีพแก่สังคม 4. ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 5. การสอนผ่านการให้เหตุผล จาก สถานการณ์จริงหรือตัวอย่าง ฝึก การคิด ตัดสินใจ ให้เหตุผล
1. ประเมินจากการตรวจสอบแผนการ สอนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในทุก วิชา 2. ประเมินผลจากการดำเนินงานตาม แผนการสอน และประเมินจากการ สังเกตพฤติกรรม 3. ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมจิต อาสา บริการวิชาการและวิชาชีพ 4. ประเมินจากผลงานการประกวดแบบ 5. ประเมินจากผลงานออกแบบทาง สถาปัตยกรรมในชั้นเรียน
1. อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม 2. อธิบายและเปรียบเทียบข้อแตกต่าง ของวิธีการ เครื่องมือ ในการออกแบบ และนำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรม 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการ สร้างสรรค์สถาปัตยกรรม 4. อธิบายหลักการ และ กระบวนการคิด เชิงนวัตกรรมในงานออกแบบ สถาปัตยกรรม 5. อธิบายคุณสมบัติและคุณค่าของความ เป็นผู้ประกอบการ
1. ใช้การเรียนการสอนหลาย รูปแบบ โดยเน้นหลักการทาง ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน 2. การสอนแบบบรรยายนำเสนอ ตัวอย่าง และการอภิปรายในชั้น เรียน 3. การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน 4. การออกแบบสถาปัตยกรรม หรือ การจัดทำวิทยานิพนธ์ 5. มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบคั้น ข้อมูลวิเคราะห์สังเคราะห์และ สรุปข้อมูล
6. กระบวนการเรียนการสอนบน ฐานการคิดเชิงออกแบบ 7. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง และการศึกษาดูงาน 8. การศึกษาจากผู้รู้หรือประสบ ความสำเร็จ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบ ปลายภาค 2. ผลงานการออกแบบทาง สถาปัตยกรรมในรายวิชา 3. การนำเสนองานในชั้นเรียนและการ อภิปรายผลงานที่ได้รับมอบหมาย 4. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ 5. ผลงานการประกวดแบบ 6. การถอดบทเรียน สรุปองค์ความรู้ จากแบบอย่าง (Role Model) 7. ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือ ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1. ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและ หลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงาน สถาปัตยกรรม 2. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการ นำเสนอแบบสถาปัตยกรรม 3. วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้ เครื่องมือ เทคโนโลยีโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม 4. สร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ กระบวนการคิด เชิงนวัตกรรม 5. ผสมผสานหลักการ ทฤษฎี และทักษะ ทางสถาปัตยกรรมเข้ากับบริบทการ เปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม
1. การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน 2. การกำหนดให้นักศึกษาเข้า ร่วมงานประกวดการออกแบบ 3. ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอก แบบ ทำตามแบบและใบงาน 4. การใช้กรณีศึกษา การออกแบบ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทาง ของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ด้วยตนเอง 5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์ สถานการณ์จำลองและ สถานการณ์เสมือนจริงแล้วนำ เสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 6. การมอบหมายงานให้นักศึกษา สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วม แสดงความคิดเห็น 7. การฝึกประสบการณ์ หรือฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 2. ประเมินจากผลงานออกแบบทาง สถาปัตยกรรมในรายวิชา 3. ผลงานการประกวดแบบ 4. ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมิน จากการปฏิบัติงานและผลงาน 5.ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ ข้อมูล 6. การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่เหมาะสม 7. ประเมินจากการอธิบาย การนำ เสนอ 8. ผลประเมินจากสถานประกอบการ
1. ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบ พื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา 2. อธิบายและสื่อสารกับผู้อื่นด้วยความรู้ และทักษะทางสถาปัตยกรรม 3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย 4. ริเริ่มพัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการ คิดอย่างมีระบบ
1. การปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบ วินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ ตรงเวลา 2. สอดแทรกเรื่องความสำคัญของ การมีมนุษย์สัมพันธ์ การมี มารยาททางสังคม 3. การมอบหมายงานกลุ่ม (Group Work) 4. การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น และการ ประสานงานกับบุคคลภายนอก 5. การเรียนการสอนที่เน้นการ อภิปรายในชั้นเรียน เพื่อส่งเสริม บุคลิกภาพของผู้เรียน
1. การเข้าเรียน การส่งงานตามระยะ เวลาที่กำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากพฤติกรรมและการ แสดงออกในการนำเสนองาน และ ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน 3. ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกใน การร่วมกิจกรรม 4. ผลการประเมินจากสถานประกอบ การ 5. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดง ออกในการนำเสนอการพัฒนาแบบ ร่างทางสถาปัตยกรรมต่างๆ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกษ์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูลการนำเสนอที่เหมาะสมกับเนื้อหาข้อมูลและสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตัวเอง
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา การออกแบบสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2. อธิบายและเปรียบเทียบข้อแตกต่าง ของวิธีการ เครื่องมือ ในการออกแบบ และนำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรม 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการ สร้างสรรค์สถาปัตยกรรม 4. อธิบายหลักการ และ กระบวนการคิด เชิงนวัตกรรมในงานออกแบบ สถาปัตยกรรม 5. อธิบายคุณสมบัติและคุณค่าของความ เป็นผู้ประกอบการ 1. อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม 1. ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและ หลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงาน สถาปัตยกรรม 2. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการ นำเสนอแบบสถาปัตยกรรม 3. วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้ เครื่องมือ เทคโนโลยีโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม 4. สร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ กระบวนการคิด เชิงนวัตกรรม 5. ผสมผสานหลักการ ทฤษฎี และทักษะ ทางสถาปัตยกรรมเข้ากับบริบทการ เปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม 1. ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ ทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม 2. ให้ความร่วมมือในทีมงานช่วยเหลือ ชุมชนและสังคม 3. ยอมรับคุณค่าทางความคิด และ ทรัพย์สินทางปัญญา 4. ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดง ความคิดเห็น 1. ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบ พื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา 2. อธิบายและสื่อสารกับผู้อื่นด้วยความรู้ และทักษะทางสถาปัตยกรรม 3. มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย 4. ริเริ่มพัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการ คิดอย่างมีระบบ
1 BARAT318 การควบคุมสภาวะแวดล้อมในอาคารเพื่อความยั่งยืน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 25%, 25%
3 ด้านทักษะทางปัญญา วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การทำงานกลุ่ม และผลงานออกแบบการส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ด้านความสัมพันธ์ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานกลุ่มและผลงาน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมายประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อสารเทคโนโนโลยี 16 5%
6 ด้านทักษะพิสัย วิเคราะห์จากการเรียนรู้ การทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
[1]กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, แนวทางการ ประหยัดพลังงานในบ้านอยู่อาศัย, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.   [2]กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ, การอนุรักษ์พลังงานในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอุดมศึกษา, 2545.   [3]กองพัฒนาพลังงานทดแทน สำนักงานวิจัยและพัฒนาการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, พลังงานทดแทน พลังงานแห่งอนาคต, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ, 2546.   [4]จุไรพร ตุมพสุวรรณ, พฤติกรรมการถ่ายเทความร้อนผ่านวัสดุมุงหลังคาบ้านพักอาศัยในเขต ร้อนชื้น,วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร ภาควิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.   [5]จุไรพร ตุมพสุวรรณ, รายงานประกอบวิชาสัมมนาเทคโนโลยีอาคาร, ภาควิชาเทคโนโลยีอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.   [6]ตรึงใจ บูรณสมภพ, การออกแบบอาคารที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1,กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์พริ้นติงแอนด์พับลิชชิง จำกัด(มหาชน) , 2539.   [7]ธนิต จินดาวณิค, สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, 2540.   [8]ปรีชญา มหัทธนทวี ดร., การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน: สร้างสรรค์อาคารสบาย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปภัมภ์, 2547.   [9]พรรณชลัท สุริโยธิน, คมกฤช ชูเกียรติมั่น, อุษณีย์ มิ่งวิมล, การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศเพื่อนำไปใช้ในการออกแบบอาคาร: สาระศาสตร์สถาปัตย์, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.   [10]พัทธวดี รุ่งโรจน์ดี,ผลกระทบของรูปทรงและคุณสมบัติการสะท้อนของแสงธรรมชาติภายใน เอเทรียมสำหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื้น,วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร ภาควิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.   [11]มาลินี ศรีสุวรรณ รศ., การศึกษาความสัมพันธ์ของทิศทางกระแสลมกับการเจาะช่องเปิดที่ ผนังอาคารสำหรับภูมิอากาศร้อนชื้นในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ :J. Print, 2543.   [12]วิเชียร สุวรรณรัตน์ ผศ, ภูมิอากาศวิทยาและการออกแบบสถาปัตยกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพ, 2531.   [13]ศิริชัย หงษ์วิทยากร,ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม,เอกสารคำสอน,2542   [14]สมสิทธิ์ นิตยะ รศ., การออกแบบอาคารสำหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื้น, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.   [15]สุนทร บุญญาธิการ, เทคนิคการออกแบบบ้านประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.   [16]สุนทร บุญญาธิการ, ธนิต จินดาวณิค,รายงานผลวิจัย การวิเคราะห์สภาวะน่าสบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องของอาคารสถาปัตยกรรมไทย, รายงานผลวิจัยจากทุนวิจัยรัชดาภิเษกสมโภช. กรุงเทพ, 2536.   [17]สุนทร บุญญาธิการ ศ., บ้านชีวาทิตย์ บ้านพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อคุณภาพชีวิตผลิตพลังงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.   [18]สุนทร บุญญาธิการ ศ. ดร.,บทสรุป:สร้างสรรค์อาคารสบาย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2547.   [19]สุนทร บุญญาธิการ รศ.ดร.,ภาพรวมการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน เอกสารประกอบการสัมนา โครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี การออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน , สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.   [20]กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่ง แวดล้อม, แนวทางการ ประหยัดพลังงานในบ้านอยู่อาศัย, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.   [21]กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำ นักงานคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ, การอนุรักษ์พลังงานในระบบไฟฟ้าฟ้แสงสว่าง, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำ กัดอุดมศึกษา, 2545.   [22]การใช้แสงธรรมชาติเสริมเพื่อลดการใช้พลังงาน.. วิทยานิพนธ์ปริญญามหา บัณฑิต ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.   [23]กองพัฒนาพลังงานทดแทน สำ นักงานวิจัยและพัฒนาการไฟฟ้าฟ้ฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย, พลังงานทดแทน พลังงานแห่งอนาคต, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ, 2546. [24]จุไรพร ตุมพสุวรรณ, พฤติกรรมการถ่ายเทความร้อนผ่านวัสดุมุงหลังคาบ้านพัก อาศัยในเขต ร้อนชื้น,วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร ภาควิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.   [25]มาลินี ศรีสุวรรณ รศ., การศึกษาความสัมพันธ์ของทิศทางกระแสลมกับการเจาะ ช่องเปิดที่ ผนังอาคารสำ หรับภูมิอากาศร้อนชื้นในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ :J. Print, 2543.   [26]ตรึงใจ บูรณสมภพ, การออกแบบอาคารที่มีประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1,กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์พริ้นติงแอนด์พับลิชชิง จำ กัด(มหาชน) , 2539. [27]ธนิต จินดาวณิค, สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, 2540.   [28]Lechner, N. Heating, Cooling, Lighting : Design Methods for Architects. New York : John Wiley & Sons, 1991.   [29]Stein, B., and Reynolds, J. S. Mechanical and electrical equipment for buildings. Vol. 1.8th ed. New York: John Wiley and Sons, 1992.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น -สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน,การประหยัดพลังงานเครื่องปรับอากาศ (ออนไลน์). สืบค้นจาก:http://www.med.cmu.ac.th/energy/How 2 Air.html. (วันที่สืบค้น : 28 มกราคม 2549).   -สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน,การประหยัดพลังงานหลอดไฟฟ้า (ออนไลน์). สืบค้นจาก :http://www 2.dede.go.th/new-homesafe/webban/book/lamp.html. (วันที่สืบค้น : 10 มกราคม 2549).
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การศึกษาดูงานนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เรียนเชิญอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือประสบการณ์การทำงานของวิทยากร