การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Animal Breeding
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความสำคัญของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการประยุกต์ใช้หลักพันธุศาสตร์ในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์สถิติในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในประเทศไทย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจการประยุกต์หลักการทางพันธุกรรมเพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์ วิธีการผสมพันธุ์แบบต่าง ๆ หลักการผสมพันธุ์สัตว์เพื่อการค้าและการผสมพันธุ์แท้ แผนการผสมพันธุ์สัตว์ การคำนวณหาค่าอัตราพันธุกรรม ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ สมาคมพันธุ์สัตว์ ปัญหาเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์
ศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในลักษณะคุณภาพและปริมาณ
ของปศุสัตว์ การประมาณพารามิเตอร์ทางพันธุกรรม ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม วิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์
The study of inheritance of qualitative and quantitative traits, genetic parameter estimation, inbreeding and relationship coefficients, principles of selection and mating system and animal breeding biotechnology.
5 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
2. มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ เป็นต้น
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
มีความรู้ ความเข้าใจ อย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัย
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(6) ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(6) ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
(1) บรรยาย ยกตัวอย่าง สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
(1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(2) การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า
(3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
(1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(2) การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า
(3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองสถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
(3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
(3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ | มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ | มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง | ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม | มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม | มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | BSCAG202 | การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณ | 1. ความตรงต่อเวลาของนักศึกษา 2. ความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรม 3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 4. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 5. ประเมินงานที่ไม่คัดลอกงานผู้อื่น 6. ประเมินพฤติกรรมการทำงานในชั้นเรียน | ตามแผนการสอน | ร้อยละ 5 |
2 | มีความรอบรู้ | 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน | ตามแผนการสอน | ร้อยละ 80 |
3 | ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ | การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ | ตามแผนการสอน | ร้อยละ 5 |
4 | มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ | ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม ต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล | ตามแผนการสอน | ร้อยละ 5 |
5 | มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ | ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม | ตามแผนการสอน | ร้อยละ 5 |
กรมปศุสัตว์. 2546. ลักษณะและมาตรฐานไก่พื้นเมืองไทย. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ
ไทยจำกัด, กรุงเทพฯ.
เกชา คูหา, 2555. หลักการปรับปรุงพันธุ์สัตว์. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
ปรารถนา พฤกษะศรี. 2544. โคเนื้อพันธุ์กำแพงแสน. พิมพ์ครั้งที่ 3. บริษัทเฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง จำกัด. นครปฐม.
มงคล เตชะกำพุ. 2543. เทคโนโลยีการย้ายฝากตัวอ่อนเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ในปศุสัตว์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพ ฯ
มนต์ชัย ดวงจิดา. 2544. การใช้โปรแกรม SAS เพื่อวิเคราะห์งานวิจัยทางสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงแก้ไข). โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ขอนแก่น.
มนต์ชัย ดวงจินดา. 2548. การประเมินพันธุกรรมสัตว์. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ขอนแก่น
สมชัย จันทร์สว่าง. 2530. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ.
ยอดชาย ทองไทยนันท์ ไพโรจน์ ศิริสม และ ทวีชัย อวิรุทธพานิชย์. 2547. โคพันธุ์ตาก.โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพ ฯ.
ศรเทพ ธัมวาส . 2536. เทคนิคการวิจัยทางด้านสัตวบาล. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2543. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์. (2560). วิสัยทัศน์ พันธกิจ อำนาจหน้าที่, สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2564. จาก http://biotech.dld.go.th/webnew/index.php/th/vision-menu
สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์. (2021). วิสัยทัศน์ พันธกิจ, สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2564. จาก http://breeding.dld.go.th/th/index.php/2015-05-20-06-08-26/2015-05-20-10-09-31
อุดมศรี อินทรโชติ, อำนวย เลี้ยวธารากุล, ธีระชัย ช่อไม้, ทวีศิลป์ จีนด้วง และชูศักดิ์ ประภาสวัสดิ์. 2550. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “การสร้างฝูงไก่พื้นเมืองจำนวน 4 พันธุ์”. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพ ฯ
Bourdon, R. M. 2000. Understanding Animal Breeding. 2nd ed. Prentice Hall, Inc. New Jersey, USA.
Dalton, D. C. 1985. An Introduction to Practical Animal Breeding. 2nd ed.English Language Book Society, Collins Professional and Technical Books, London
Falconer, D. S., and T. F. C. Mackay. 1996. Introduction to Quantitative Genetics. 4th Ed. Longman Group Ltd., London, UK.
Miko, I. 2008. Epistasis: Gene interaction and phenotype effects. Nature Education 1(1).
Mrode, R.A. 1996. Linear Models for the Prediction of Animal Breeding Values. CAB International, Wallingford Oxon, UK.
Schneeberger, M. 1992. The Alternative Evaluation Procedures. pp. 57- 70. In Animal Breeding: The Modern Approach. Hammond, K., H-U. Graser, and A. McDonald (eds.). Post-Grad. Foundation in Vet. Sci., Univ. of Sydney, Australia
เกชา คูหา, 2555. หลักการปรับปรุงพันธุ์สัตว์. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
ปรารถนา พฤกษะศรี. 2544. โคเนื้อพันธุ์กำแพงแสน. พิมพ์ครั้งที่ 3. บริษัทเฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง จำกัด. นครปฐม.
มงคล เตชะกำพุ. 2543. เทคโนโลยีการย้ายฝากตัวอ่อนเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ในปศุสัตว์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพ ฯ
มนต์ชัย ดวงจิดา. 2544. การใช้โปรแกรม SAS เพื่อวิเคราะห์งานวิจัยทางสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงแก้ไข). โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ขอนแก่น.
มนต์ชัย ดวงจินดา. 2548. การประเมินพันธุกรรมสัตว์. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ขอนแก่น
สมชัย จันทร์สว่าง. 2530. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ.
ยอดชาย ทองไทยนันท์ ไพโรจน์ ศิริสม และ ทวีชัย อวิรุทธพานิชย์. 2547. โคพันธุ์ตาก.โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพ ฯ.
ศรเทพ ธัมวาส . 2536. เทคนิคการวิจัยทางด้านสัตวบาล. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2543. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์. (2560). วิสัยทัศน์ พันธกิจ อำนาจหน้าที่, สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2564. จาก http://biotech.dld.go.th/webnew/index.php/th/vision-menu
สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์. (2021). วิสัยทัศน์ พันธกิจ, สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2564. จาก http://breeding.dld.go.th/th/index.php/2015-05-20-06-08-26/2015-05-20-10-09-31
อุดมศรี อินทรโชติ, อำนวย เลี้ยวธารากุล, ธีระชัย ช่อไม้, ทวีศิลป์ จีนด้วง และชูศักดิ์ ประภาสวัสดิ์. 2550. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “การสร้างฝูงไก่พื้นเมืองจำนวน 4 พันธุ์”. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพ ฯ
Bourdon, R. M. 2000. Understanding Animal Breeding. 2nd ed. Prentice Hall, Inc. New Jersey, USA.
Dalton, D. C. 1985. An Introduction to Practical Animal Breeding. 2nd ed.English Language Book Society, Collins Professional and Technical Books, London
Falconer, D. S., and T. F. C. Mackay. 1996. Introduction to Quantitative Genetics. 4th Ed. Longman Group Ltd., London, UK.
Miko, I. 2008. Epistasis: Gene interaction and phenotype effects. Nature Education 1(1).
Mrode, R.A. 1996. Linear Models for the Prediction of Animal Breeding Values. CAB International, Wallingford Oxon, UK.
Schneeberger, M. 1992. The Alternative Evaluation Procedures. pp. 57- 70. In Animal Breeding: The Modern Approach. Hammond, K., H-U. Graser, and A. McDonald (eds.). Post-Grad. Foundation in Vet. Sci., Univ. of Sydney, Australia
American Hereford Association. (2000). Hereford headlines. Retrieved 9 Jan, 2021, from https://hereford.org/
Bioprocess online. (2000). University of Tennessee scientists clone cow without using patented technologies. Retrieved Jan 9 2021, from. https://www.bioprocessonline.com/doc/university-of-tennessee-scientists- clone-cow-0001
Britannica. (2020). Biotechnology. Retrieved Jan 9 2021. from https://www.britannica.com/technology/building
Cruachan highland cattle. (1992). Embryo transfer in cattle. Retrieved Jan 9 2021. from. https://www.cruachan.com.au/embryo_transfer.htm
Henderson, C. R. 1975. Use of relationships among sire to increase accuracy of sire evaluation. J. Anim Sci. 58:1731-1739.
Henderson, C. R. 1976. A simple method for computing the inverse of a numerator relationship matrix used in predicting of breeding values. Biometrics. 32:69- 83.
Heritage sheep Australia. (2000). Breed. Retrieved Jan 8 2021, from http://www.heritagesheep.org.au/breeds.html
Lumen waymaker. (2010). Multiple alleles. Retrieved 8 Jan 2021. From https://courses.lumenlearning.com/wm-biology1/chapter/reading-multiple-alleles/
Molecular expression. (2015). Animal cell structure. Retrieved Jan 15 2021, from http://micro.magnet.fsu.edu/cells/animalcell.html
My pet chicken. (2005). Chicken breed. Retrieved Jan 8 2021, from https://www.mypetchicken.com/chicken-breeds/breed-list.aspx
Oklahoma State University. (1995). Breed of livestock – Angus cattle. Retrieved Jan 8 2021, from http://afs.okstate.edu/breeds/cattle/angus
Quora. (2020). What is a chromosome?. Retrieved Jan 15 2021, from https://www.quora.com/What-is-a-chromosome
The beef site. (2002). Artificial Insemination for beef cattle. Retrieved Jan 9, 2021. from. http://www.thebeefsite.com/articles/721/artificial-insemination- for-beef-cattle/
The Rockefeller University. (2000). The transforming principle: DNA The molecule of heredity. Retrieved, Jan 15, 2018,/from/ https://digitalcommons.rockefeller.edu /transforming-principle-dna/23/
The science creative quality. (2003). Amonk’floursing garden: The basic of molecular biology explained. Retrieved Jan 15 2018, from http://www.scq.ubc.ca/a-monks-flourishing-garden-the-basics-of-molecular-biology-explained/
The windows to the Universe. (2000). Chromosomes, DNA and genes. Retrieved, Jan 15, 2018, from https://www.windows2universe.org/?page=/earth/Life/genetics_intro.html
U.S. Registered Holsteins. (2021.) Holstein Association USA. Retrieved Jan 28 2021, from https://www.holsteinusa.com/
Wikimedia commons. (2020). Model seven charactors. Retriever Jan 18 2021, from http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Mendel_ seven_characters.svg
Wikipedia. (2020). Sebright chicken. Retrieved Jan 8 2021, from http://en.wikipedia.org/wiki/Sebright_(chicken)
Wikipedia. (2021). Hereford cattle. Retrieved Jan 18 2021. from https://en.wikipedia.orgwiki/Hereford_cattle
Bioprocess online. (2000). University of Tennessee scientists clone cow without using patented technologies. Retrieved Jan 9 2021, from. https://www.bioprocessonline.com/doc/university-of-tennessee-scientists- clone-cow-0001
Britannica. (2020). Biotechnology. Retrieved Jan 9 2021. from https://www.britannica.com/technology/building
Cruachan highland cattle. (1992). Embryo transfer in cattle. Retrieved Jan 9 2021. from. https://www.cruachan.com.au/embryo_transfer.htm
Henderson, C. R. 1975. Use of relationships among sire to increase accuracy of sire evaluation. J. Anim Sci. 58:1731-1739.
Henderson, C. R. 1976. A simple method for computing the inverse of a numerator relationship matrix used in predicting of breeding values. Biometrics. 32:69- 83.
Heritage sheep Australia. (2000). Breed. Retrieved Jan 8 2021, from http://www.heritagesheep.org.au/breeds.html
Lumen waymaker. (2010). Multiple alleles. Retrieved 8 Jan 2021. From https://courses.lumenlearning.com/wm-biology1/chapter/reading-multiple-alleles/
Molecular expression. (2015). Animal cell structure. Retrieved Jan 15 2021, from http://micro.magnet.fsu.edu/cells/animalcell.html
My pet chicken. (2005). Chicken breed. Retrieved Jan 8 2021, from https://www.mypetchicken.com/chicken-breeds/breed-list.aspx
Oklahoma State University. (1995). Breed of livestock – Angus cattle. Retrieved Jan 8 2021, from http://afs.okstate.edu/breeds/cattle/angus
Quora. (2020). What is a chromosome?. Retrieved Jan 15 2021, from https://www.quora.com/What-is-a-chromosome
The beef site. (2002). Artificial Insemination for beef cattle. Retrieved Jan 9, 2021. from. http://www.thebeefsite.com/articles/721/artificial-insemination- for-beef-cattle/
The Rockefeller University. (2000). The transforming principle: DNA The molecule of heredity. Retrieved, Jan 15, 2018,/from/ https://digitalcommons.rockefeller.edu /transforming-principle-dna/23/
The science creative quality. (2003). Amonk’floursing garden: The basic of molecular biology explained. Retrieved Jan 15 2018, from http://www.scq.ubc.ca/a-monks-flourishing-garden-the-basics-of-molecular-biology-explained/
The windows to the Universe. (2000). Chromosomes, DNA and genes. Retrieved, Jan 15, 2018, from https://www.windows2universe.org/?page=/earth/Life/genetics_intro.html
U.S. Registered Holsteins. (2021.) Holstein Association USA. Retrieved Jan 28 2021, from https://www.holsteinusa.com/
Wikimedia commons. (2020). Model seven charactors. Retriever Jan 18 2021, from http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Mendel_ seven_characters.svg
Wikipedia. (2020). Sebright chicken. Retrieved Jan 8 2021, from http://en.wikipedia.org/wiki/Sebright_(chicken)
Wikipedia. (2021). Hereford cattle. Retrieved Jan 18 2021. from https://en.wikipedia.orgwiki/Hereford_cattle
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย ฯ โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4