ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปกรรม
Lanna Wisdom in Art
1. รู้ความหมายและความเป็นมาของภูมิปัญญาล้านนา
2. เข้าใจถึงที่มาความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยกับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม
3. สามารถวิเคราะห์ลักษณะงานศิลปกรรมล้านนาในรูปแบบและเนื้อหา และนำมาสร้างผลงานตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์ได้
4. เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนางานศิลปกรรมล้านนา
2. เข้าใจถึงที่มาความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยกับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม
3. สามารถวิเคราะห์ลักษณะงานศิลปกรรมล้านนาในรูปแบบและเนื้อหา และนำมาสร้างผลงานตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์ได้
4. เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนางานศิลปกรรมล้านนา
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปกรรม สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการเกิดภูมิปัญญาไทย ที่มา ความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยกับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม และฝึกปฏิบัติการสร้างผลงานตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์จากครูภูมิปัญญาล้านนา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการเกิดภูมิปัญญาล้านนา ที่มาความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยกับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม การวิเคราะห์ลักษณะงานศิลปกรรมกับภูมิปัญญาล้านนา ในคุณค่าภูมิปัญญาไทยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนางานศิลปกรรมล้านนา
Study and practice relating to the creation process of Lanna wisdom, background, connection, cultural influences, including Thai wisdom and the concepts of creating visual art. Analyze the characteristics of visual art and Lanna wisdom and the value of Thai wisdom based on sufficiency economy philosophy as a guideline in conserving and developing Lanna visual art.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1) ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1) ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
ด้านความรู้
1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรม
1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรม
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปนิพนธ์ที่นำเสนอ ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ในด้านต่าง ๆ คือ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปนิพนธ์ที่นำเสนอ ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ด้านทักษะทางปัญญา
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สารสนเทศ
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
ด้านทักษะพิสัย
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง | (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม | (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน | (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ | (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ | (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง | (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ | (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | BFAVA145 | ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปกรรม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | การนำเสนอผลการทำรายงานครั้งที่ 1 สอบกลางภาค การนำเสนอผลการทำรายงานครั้งที่ 2 สอบปลายภาค | 8 9 16 17 | 10% 25% 10% 25% | |
2 | ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% | |
3 | จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
- เอกวิทย์ ณ ถลาง,ภูมิปัญญาล้านนา,กรุงเทพฯ,อัมรินทร์,2544,พิมพ์ครั้ง 2
- สุรชัย จงจิตงาม,คู่มือท่องเที่ยว เรียนรู้:ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง,อัมรินทร์,กรุงเทพฯ,2549.
- สุรพล ดำริห์กุล,ลายคำล้านนา,ด่านสุธาการพิมพ์,กรุงเทพฯ,2544.
- วรลัญจก์ บุญสุรัตน์,วิหารล้านนา,เมืองโบราณ,กรุงเทพฯ,2544.
- สุรชัย จงจิตงาม,คู่มือท่องเที่ยว เรียนรู้:ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง,อัมรินทร์,กรุงเทพฯ,2549.
- สุรพล ดำริห์กุล,ลายคำล้านนา,ด่านสุธาการพิมพ์,กรุงเทพฯ,2544.
- วรลัญจก์ บุญสุรัตน์,วิหารล้านนา,เมืองโบราณ,กรุงเทพฯ,2544.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาล้านนาไทย
จระกฤตย์ โพธิ์ระหงส์, ม.ป.ป., การสร้างสรรค์กับงานศิลปะ, สืบค้นจาก http://aoao555.
wordpress.com/การสร้างสรรค์กับงานศิลปะ/ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2559.
จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, 2540, ลายคำ เสาวิหารพระพุทธ วัดพระธาตุลำปางหลวง, วารสารเมือง
โบราณ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2540 หน้า 113-128.
ชลูด นิ่มเสมอ, 2532, การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ. ทรงพันธ์ วรรณมาศ, 2536, พจนานุกรมภาพศิลปวัฒนธรรมล้านนาและหัวเมืองฝ่ายเหนือ,
กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธานินทร์ ทิพยางค์, วัชรวีร์ ศรีสรรพางค์, 2555, งานช่างศิลป์ไทย : ปูนปั้น เครื่องถมและลงยา
เครื่องรักประดับมุก ประดับกระจก, กรุงเทพฯ : คติ.
นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2536, การศึกษาของชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. ปรีชา อุยตระกูล, 2530, ภูมิปัญญาชาวบ้าน, ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน
จังหวัดขอนแก่น, วันที่ 5-7 มกราคม 2530, ม.ป.ท., เอกสารอัดสำเนา.
พรศิลป์ รัตนชูเดช, 2554, ภาพลายเส้นพุทธศิลป์ล้านนา. เชียงใหม่ : สุเทพการพิมพ์. ภาณุพงษ์ เลาหสม, 2541, จิตรกรรมฝาผนังล้านนา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. มนต์มนัส ผลาหาญ, 2556, เครื่องเงินบ้านวัวลาย ชุมชนวัดหมื่นสารบ้านวัวลายและชุมชนวัด
ศรีสุพรรณ จังหวัดเชียงใหม่, การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคล หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
รุ่ง แก้วแดง, 2542, ปฏิวัติการศึกษาไทย, กรุงเทพฯ : มติชน. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, 2544, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2545, ศิลปะพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : สิปประภา. วันเพ็ญ พวงพันธุ์บุตร, 2542, พื้นฐานวัฒนธรรมไทย, ลพบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎเทพสตรี.
วิชิต นันทสุวรรณ, 2528, ภูมิปัญญาในงานพัฒนา, วารสารสังคมพัฒนา ฉบับที่ 5 กันยายน-
ตุลาคม.
วิถี พานิชพันธ์, 2558, เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์, เชียงใหม่ : มิ่งเมืองนวรัตน์. วิถี พานิชพันธ์, 2548, วิถีล้านนา, เชียงใหม่ : ซิลค์เวอร์ม. วินัย ปราบริปู, 2552, จิตรกรรมฝาผนังเมืองน่าน, กรุงเทพฯ : 21 เซนจูรี่. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2536, มรดกพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2539, ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้น. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2546, พจนานุกรมหัตถกรรมเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : เมือง
โบราณ.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์, 2556, ศิลปะล้านนา, กรุงเทพฯ : มติชน. ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ, 2555, พุทธศิลป์ล้านนาคุณค่าศรัทธาและการอนุรักษ์, เชียงใหม่ :
วนิดาการพิมพ์.
ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา, 2556, ประติมากรรมพระพุทธรูป, สืบค้นจาก
www.lanna-arch.net/art/architecture3 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559.
สงกรานต์ กลมสุข, 2556, ศิลปกรรมล้านนาเพื่อการท่องเที่ยว, วารสารมนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2556)
หน้า 163-194.
สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554, ภูมิปัญญาเชิงช่างเชียงใหม่,
เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์.
สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ม.ป.ป., เครื่องเขินล้านนา, สืบค้นจาก http://library.cmu.
ac.th/ntic/lannalacquerware/ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559.
สุรพล ดำริห์กุล, 2544, ลายคำล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. สุวิภา จำปาวัลย์, ชัปนะ ปิ่นเงิน, 2551, การศึกษาพุทธสัญลักษณ์ล้านนา, สถาบันวิจัยวิจัยสังคม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อานนท์ พรหมศิริ, 2555, การศึกษาโคมผัดล้านนาสู่การออกแบบศูนย์นาฏกรรมแสงเงาร่วมสมัย
วิทยานิพนธ์ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อาวุธ เงินชูกลิ่น, 2545, ความรู้ทั่วไปในงานช่างศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์.
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาล้านนาไทย
wordpress.com/การสร้างสรรค์กับงานศิลปะ/ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2559.
จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, 2540, ลายคำ เสาวิหารพระพุทธ วัดพระธาตุลำปางหลวง, วารสารเมือง
โบราณ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2540 หน้า 113-128.
ชลูด นิ่มเสมอ, 2532, การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ. ทรงพันธ์ วรรณมาศ, 2536, พจนานุกรมภาพศิลปวัฒนธรรมล้านนาและหัวเมืองฝ่ายเหนือ,
กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธานินทร์ ทิพยางค์, วัชรวีร์ ศรีสรรพางค์, 2555, งานช่างศิลป์ไทย : ปูนปั้น เครื่องถมและลงยา
เครื่องรักประดับมุก ประดับกระจก, กรุงเทพฯ : คติ.
นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2536, การศึกษาของชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. ปรีชา อุยตระกูล, 2530, ภูมิปัญญาชาวบ้าน, ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน
จังหวัดขอนแก่น, วันที่ 5-7 มกราคม 2530, ม.ป.ท., เอกสารอัดสำเนา.
พรศิลป์ รัตนชูเดช, 2554, ภาพลายเส้นพุทธศิลป์ล้านนา. เชียงใหม่ : สุเทพการพิมพ์. ภาณุพงษ์ เลาหสม, 2541, จิตรกรรมฝาผนังล้านนา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. มนต์มนัส ผลาหาญ, 2556, เครื่องเงินบ้านวัวลาย ชุมชนวัดหมื่นสารบ้านวัวลายและชุมชนวัด
ศรีสุพรรณ จังหวัดเชียงใหม่, การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคล หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
รุ่ง แก้วแดง, 2542, ปฏิวัติการศึกษาไทย, กรุงเทพฯ : มติชน. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, 2544, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2545, ศิลปะพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : สิปประภา. วันเพ็ญ พวงพันธุ์บุตร, 2542, พื้นฐานวัฒนธรรมไทย, ลพบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎเทพสตรี.
วิชิต นันทสุวรรณ, 2528, ภูมิปัญญาในงานพัฒนา, วารสารสังคมพัฒนา ฉบับที่ 5 กันยายน-
ตุลาคม.
วิถี พานิชพันธ์, 2558, เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์, เชียงใหม่ : มิ่งเมืองนวรัตน์. วิถี พานิชพันธ์, 2548, วิถีล้านนา, เชียงใหม่ : ซิลค์เวอร์ม. วินัย ปราบริปู, 2552, จิตรกรรมฝาผนังเมืองน่าน, กรุงเทพฯ : 21 เซนจูรี่. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2536, มรดกพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2539, ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้น. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2546, พจนานุกรมหัตถกรรมเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : เมือง
โบราณ.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์, 2556, ศิลปะล้านนา, กรุงเทพฯ : มติชน. ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ, 2555, พุทธศิลป์ล้านนาคุณค่าศรัทธาและการอนุรักษ์, เชียงใหม่ :
วนิดาการพิมพ์.
ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา, 2556, ประติมากรรมพระพุทธรูป, สืบค้นจาก
www.lanna-arch.net/art/architecture3 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559.
สงกรานต์ กลมสุข, 2556, ศิลปกรรมล้านนาเพื่อการท่องเที่ยว, วารสารมนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2556)
หน้า 163-194.
สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554, ภูมิปัญญาเชิงช่างเชียงใหม่,
เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์.
สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ม.ป.ป., เครื่องเขินล้านนา, สืบค้นจาก http://library.cmu.
ac.th/ntic/lannalacquerware/ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559.
สุรพล ดำริห์กุล, 2544, ลายคำล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. สุวิภา จำปาวัลย์, ชัปนะ ปิ่นเงิน, 2551, การศึกษาพุทธสัญลักษณ์ล้านนา, สถาบันวิจัยวิจัยสังคม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อานนท์ พรหมศิริ, 2555, การศึกษาโคมผัดล้านนาสู่การออกแบบศูนย์นาฏกรรมแสงเงาร่วมสมัย
วิทยานิพนธ์ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อาวุธ เงินชูกลิ่น, 2545, ความรู้ทั่วไปในงานช่างศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์.
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาล้านนาไทย
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย