อุปกรณ์ประกอบอาคาร
Equipment for Building
1. เพื่อศึกษาขอกำหนดทางวิศวกรรม ระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
2. เพื่อนำความรู้ด้านงานระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร ไปใช้ประกอบการออกแบบตกแต่งภายในอาคาร ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2. เพื่อนำความรู้ด้านงานระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร ไปใช้ประกอบการออกแบบตกแต่งภายในอาคาร ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ศึกษาอุปกรณ์ประกอบอาคาร งานระบบต่าง ๆ และข้อกำหนดทางวิศวกรรมของอาคารพักอาศัยและอาคารสาธารณะ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน โดยมุ่งเน้นทั้งหลักสูตรทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. งานที่ได้รับมอบหมาย
2. งานที่ได้รับมอบหมาย
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในด้านวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติของนักศึกษา
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2. ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
2. ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สร้างกิจกรรม Active Learning /Flipped Classroom ที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1 ความรู้ | 2 ทักษะ | 3 จริยธรรม | 4 ลักษณะบุคคล | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BARIA307 | อุปกรณ์ประกอบอาคาร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ความรู้ | - ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์ - วัดผลและให้คะแนนจากการส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 40 |
2 | ทักษะทางปัญญา | - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค | สัปดาห์สอบตามกำหนด | 30 |
3 | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | - ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน - ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ | ตลอดภาคการศึกษา | 15 |
4 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 15 |
- BUILDING SYSTEMS FOR INTERIOR DESIGNERS. Corky Binggeli A.S.I.D
- Architectural GRAPHIC Standards. Ramsey/Sleeper
- BUILDING CONSTRUCTION ILLUSTRATED. FRANCIS D.K.CHING & CASSANDRA ADAMS
เรียบเรียงโดย กิติพงศ์ พลจันทร์ และ ทัต สัจจะวาที
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1. การสังเกตการณ์ของผู้สอน 2. ผลการเรียนของนักศึกษา 3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ