เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความบันเทิง
Information Technology for Entertaining
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการและกระบวนการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างสื่อเพื่อความบันเทิง, พัฒนาทักษะในการวางแผน ออกแบบ และสร้างสื่อเพื่อความบันเทิง, สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการฉาก แสง สี องค์ประกอบภาพ และเสียงสำหรับสื่อเพื่อความบันเทิงได้อย่างเหมาะสม
1. ปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับแนวคิดและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสื่อเพื่อความบันเทิงในยุคปัจจุบัน
2. พัฒนาและใช้เทคโนโลยีการสอนที่ทันสมัย เช่น การใช้แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์ และเครื่องมือการสอนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เข้ากับความต้องการของนักเรียน
3. สร้างช่องทางสื่อสารที่เปิดกว้างให้นักศึกษาและผู้สอนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกสบาย
4. สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางด้านเทคนิคและทักษะการแก้ปัญหา
5. ปรับปรุงกิจกรรมการประเมินผลและการให้คำแนะนำเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนและให้ข้อมูลที่มีประโยชน์ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. พัฒนาและใช้เทคโนโลยีการสอนที่ทันสมัย เช่น การใช้แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์ และเครื่องมือการสอนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เข้ากับความต้องการของนักเรียน
3. สร้างช่องทางสื่อสารที่เปิดกว้างให้นักศึกษาและผู้สอนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกสบาย
4. สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางด้านเทคนิคและทักษะการแก้ปัญหา
5. ปรับปรุงกิจกรรมการประเมินผลและการให้คำแนะนำเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนและให้ข้อมูลที่มีประโยชน์ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างสื่อเพื่อความบันเทิง การวางแผน การออกแบบ การสร้างเสื้อหา และการผลิตสื่อเพื่อความบันเทิง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการฉาก แสง สี องค์ประกอบภาพ แนวปฏิบัติในการเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจบันเทิง
3.1
3.2 Facebook messenger, Line
3.3 Email : pattarapon.wit@rmutl.ac.th
3.2 Facebook messenger, Line
3.3 Email : pattarapon.wit@rmutl.ac.th
2. มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการ เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุก คนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
5. รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
8. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
5. รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
8. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. การอภิปรายกลุ่ม
3. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
2. การอภิปรายกลุ่ม
3. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน เป็นต้น
2. สามารถให้ความช่วยเหลือเเละอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณืต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
1. สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5. มีภาวะผู้นำ
1. สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5. มีภาวะผู้นำ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น ของข้อมูล
1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ในหลากหลาย สถานการณ์
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม | 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา | 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง | 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ | 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง | 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | 4.2. สามารถให้ความช่วยเหลือเเละอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณืต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน | 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม | 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม | 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน | 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม | 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม |
1 | BSCCT213 | เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความบันเทิง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2, 2.2 | สอบกลางภาค | 9 | 30 |
2 | 1.2, 2.2 | สอบปลายภาค | 17 | 30 |
3 | 1.2, 1.4, 2.2, 2.5, 2.6, 2.8, 3.4, 5.1 | แบบฝึกหัด | 1-16 | 10 |
4 | 1.2, 1.4, 2.2, 2.5, 2.6, 2.8, 3.4, 4.2, 4.4, 4.5, 4.6, 5.1, 5.3, 5.4 | พิจารณาจากรายงาน ผลงานของนักศึกษา การนำเสนอรายงาน | 1-16 | 20 |
5 | 1.2, 1.4, 2.2, 2.5, 2.6, 2.8, 3.4, 4.2, 4.4, 4.5, 4.6, 5.1, 5.3, 5.4 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ | 1-16 | 10 |
ดร.วชิระ หล่อประดิษฐ์ (2567) เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความบันเทิง
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้อง
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน,แบบประเมินผู้สอน,แบบประเมินรายวิชา,พิจารณาจากชิ้นงานนักศึกษา
ผลการสอบ,การประเมินผู้สอนและผลการประเมินรายวิชาของผู้เรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 อาจารย์ผู้สอนจึงทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาเพื่อวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับปีการศึกษาถัดไป