กฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Law

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อบังคับ นโยบาย สิทธิความเป็นส่วนตัว และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในอาชญากรรมจากการใช้เทคโนโลยี ภัยคุกคามของระบบสารสนเทศ ประเด็นทางวิชาชีพและจริยธรรม
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและสอดคล้องกับหลักกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศที่บัญญัติและบังคับใช้ในปัจจุบัน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการใช้ชีวิตต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสังคมออนไลน์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อบังคับ นโยบาย สิทธิความเป็นส่วนตัว กฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งไทยและสากล อาชญากรรมจากการใช้เทคโนโลยีภัยคุกคามของระบบสารสนเทศ ประเด็นทางวิชาชีพและจริยธรรม องค์กรวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
3.1
3.2 Facebook messenger, Line 
3.3 Email : pattarapon.wit@rmutl.ac.th
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต       
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม     
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม     
6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม   
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา 
- มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น
- ให้นักศึกษาศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
- พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
- ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย  
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจเเละอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ เเละการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการเเก้ปัญหา       
6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 
- การให้ภาพรวมของความรู้ก่อนเข้าสู่บทเรียน การสรุปย้ำความรู้ใหม่หลังบทเรียนพร้อมกับเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เลือกใช้วิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ          
- ใช้รูปแบบการสอนในหลากหลายรูปแบบ เช่นการบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน การอภิปรายกลุ่ม          
- กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน           
- ประเมินจากผลงานระหว่างภาคเรียน เช่น การบ้าน การเขียนรายงาน การนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน  
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณเเละอย่างเป็นระบบ
2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 
- การมอบหมายงาน กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จำลอง ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และ แก้ปัญหา
- การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
- ประเมินจากการสอบข้อเขียนด้วยโจทย์ที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญา
- ประเมินจากผลงานแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม       
 
- มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม เช่น แบบฝึกหัด หรือรายงาน
- จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้มีมนุษยสัมพันธ์ร่วมกัน
ประเมินพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และ ความครบถ้วนชัดเจนของข้อมูล
 
3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม    
4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม 
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอในรูปเอกสาร
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบายเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการนำเสนองานต่อชั้นเรียน
- ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจเเละอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ เเละการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการเเก้ปัญหา 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณเเละอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม     5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1 BSCCT306 กฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.7, 2.1, 2.6 สอบกลางภาค 9 30
2 1.1, 1.7, 2.1, 2.6 สอบปลายภาค 17 30
3 1.2, 2.1, 2.6, 3.2 แบบฝึกหัด 1-16 10
4 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6, 3.2, 4.3, 5.3, 5.4 พิจารณาจากรายงาน ผลงานของนักศึกษา การนำเสนอรายงาน 1-16 20
5 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6, 1.7, 4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-16 10
วันชนะ จูบรรจง (2565) เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้อง 
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน,แบบประเมินผู้สอน,แบบประเมินรายวิชา,พิจารณาจากชิ้นงานนักศึกษา
ผลการสอบ,การประเมินผู้สอนและผลการประเมินรายวิชาของผู้เรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 อาจารย์ผู้สอนจึงทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา 
อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาเพื่อวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับปีการศึกษาถัดไป