ระบบเกษตรและเทคโนโลยี
Agricultural System and Technology
ศึกษาความสำคัญของการเกษตรและแนวทางในการพัฒนา สถานการณ์และวิถีการผลิตทางการเกษตร มาตรฐานการผลิตทางการเกษตร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทฤษฎีระบบเกษตร ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบเกษตร การวิเคราะห์เชิงระบบทางการเกษตร การพัฒนากรอบและเครื่องมือช่วยแนวคิดและช่วยการวิเคราะห์ การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการเกษตร การพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เกษตรอัจฉริยะ วิธีการเชิงระบบในการพัฒนาการเกษตร และระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร
เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสปอว. และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
สถานการณ์และวิถีการผลิตทางการเกษตรสถานการณ์ทางการตลาดและการตลาดทางการเกษตร มาตรฐานการผลิตทางการเกษตรการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทฤษฎีระบบเกษตรปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบเกษตร การวิเคราะห์เชิงระบบทางการเกษตร การพัฒนากรอบและเครื่องมือช่วยแนวคิดและช่วยการวิเคราะห์ การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการเกษตร การพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เกษตรอัจฉริยะ วิธีการเชิงระบบในการพัฒนาการเกษตร และระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็ปไซต์ของพื้นที่-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
3. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
4. สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1. ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรมการวิจัย
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในการวิจัย
3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิจัย การมีวินัยเรื่องเวลา
4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1. การตรวจสอบการมีวินัยเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา
2. ตรวจสอบการมีจรรยาบรรณวิจัย เช่น การตรวจการอ้า่งอิง/การคัดลอกผลงานผู้อื่น
2. นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัย
การนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้อการศึกษาของนักศึกษา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน
2. สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการวิจัยในสถานการณ์จริง พัฒนา กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมความคิดในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากประเด็นปัญหาที่กำหนด
1. ประเมินจากการอธิบาย ตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็น เป็นรายบุคคล
2. รายงานความก้าวหน้าเล่มรายงานที่วิเคราะห์แบบกลุ่ม
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
3. การสอนแบบวิเคราะห์ร่วมโดยกลุ่ม
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองานค้นคว้าทางวิชาการที่สอดคล้องกับหัวข้อที่กำลังศึกษา
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
3. การสอนแบบรายงานเชิงวิเคราะห์ผลงานค้นคว้า
1. ความถูกต้องของผลการวิเคราะห์งานที่ค้นคว้า
2. การนำเสนอรายงานเชิงวิเคราะห์ของผลงานที่ นศ. ค้นคว้ามา ด้วยปากเปล่า
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ความรู้ | 2.ทักษะ | 3.จริยธรรม | 4.ลักษณะบุคคล | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | MSCGT002 | ระบบเกษตรและเทคโนโลยี |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 - 2.4, 3.1 - 3.2 | สอบกลางภาค และปลายภาค | 9 และ 17 | ร้อยละ 60 |
2 | 4.1 - 4.5 และ 5.1 - 5.4 | ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 30 |
3 | 1.1 - 1.6 | 1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา 2. การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 20 |
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (มิถุนายน 2562).สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน, https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2020/20200331-In-Technology-Text%20-reprint-final.pdf
1. วารสารออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์จากฐานข้อมูล ScienceDirect Springerlink ที่เข้าถึงแบบ full paper
2. วารสารผลิตกรรมการเกษตร. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/japmju
กรมวิชาการเกษตร. (1 มกราคม 2567). https://www.doa.go.th/th/
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป