การจัดการธุรกิจเกษตร

Agribusiness Management

     เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจรูปแบบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจแนวใหม่ การนำทรัพยากรที่ธุรกิจมีนำมาสร้างความแตกต่างเพื่อการแข่งขันทางธุรกิจ เตรียมพร้อมการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่
เพื่อฝึกให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญ บทบาท โครงสร้างของระบบธุรกิจ ห่วงโซ่อุปทาน ห่วงโซ่คุณค่าโลจิสติกส์ หน่วยงานและสถาบันทางเกษตร หลักการวางแผนและการเขียนแผนธุรกิจเกษตร การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร การจัดการ การบัญชีก่รเงินและการตลาดยุคใหม่
      3.1 อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน Line  E-mail
      3.2 จัดให้นักศึกษาขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ได้ที่ห้องพักอาจารย์สาขาการตลาดและการตลาดดิจิทัล
1.ยึดฐานคิดทางศีลธรรม ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา 
2.มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
4.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
การบรรยาย
การสังเกตพฤติกรรม 
1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา 
2.สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
3.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการของศาสตร์   
4.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เรียนไปประยุกต์กับการดำรงชีวิตได้ 
1. การบรรยาย 2. การใช้กรณีศึกษา (Case) 
1. การสอบข้อเขียน/สอบย่อย 2. การสอบทักษะ 3. การสังเกตพฤติกรรม 
1.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณและอย่างมีระบบ 
2.สามารถนำความรู้และทักษะในศาสตร์ที่เรียนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์หรือแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 
3.สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การเลือกทางเลือกใหม่ ๆ 
การบรรยาย
1. การสอบข้อเขียน/สอบย่อย 2. การสอบทักษะ 3. การสอบกลางภาค 4. การสอบปลายภาค 
1.สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมองค์กร 
2.สามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม 
3.มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมสามารถนำความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
4.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 
1. การบรรยาย 2. การอภิปราย 
1. การสอบข้อเขียน/สอบย่อย 2. การสอบปากเปล่า 3. การสังเกตพฤติกรรม 
1.สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การเขียน และเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ ได้อย่างเหมาะสม  
2.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 
3.สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 
1. การบรรยาย 2. กรณีศึกษา (Case) 
1. การสอบข้อเขียน/สอบย่อย 2. การสอบทักษะ 3. การสังเกตพฤติกรรม 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณและอย่างมีระบบ 2.สามารถนำความรู้และทักษะในศาสตร์ที่เรียนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์หรือแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 3.สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การเลือกทางเลือกใหม่ ๆ 1.สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมองค์กร 2.สามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม 3.มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมสามารถนำความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 1.สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การเขียน และเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ ได้อย่างเหมาะสม 2.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 3.สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 1.ยึดฐานคิดทางศีลธรรม ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา 2.มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา 2.สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการของศาสตร์ 4.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เรียนไปประยุกต์กับการดำรงชีวิตได้
1 BSCAG011 การจัดการธุรกิจเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 2.1.1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 3.1.1 3.1.2 3.1.3 - สอบกลางภาค -สอบปลายภาค 8 17 30% 30%
2 1.1.1 1.1.2 1.1.3 1.1.4 2.1.1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 3.1.1 3.1.2 3.1.3 3.1.4 4.1.1 4..12 4.1.3 5.1.1 5.1.2 5.1.2 5.1.3 5.1.4 - งานที่ได้รับมอบหมาย - รูปแบบรายงาน -นำเสนอผลงาน - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 10% 10% 10%
หนังสือ การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่
           ผู้แต่ง กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล, ดร. (Kanyarat Teerathanachaiyakun, Dr.) 2562
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    -  การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
    -  แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
      - ผลการสอน
      -  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
      -  การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
     -  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ตามข้อ 1
     -  ปรับปรุงการสอนตามรายงานการดำเนินงานของรายวิชา (มคอ. 5)
     - ทวนสอบโดยคณะกรรมการทวนสอบ
     5.1 การดำเนินการทวนสอบ
          - มีการแต่งตั้งกรรมการทวนสอบ  
          - ทวนสอบรายละเอียดใน มคอ. 3  และ มคอ. 5 
          - ทวนสอบเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอน
          - ทวนสอบผลการประเมินจากผู้เรียน
           - ทวนสอบโดยสัมภาษณ์นักศึกษา
    5.2 การวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
         -  ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาทุกภาคเรียน ตามผลการทวนสอบ