ศิลปะประยุกต์
Applied Art
1.1 เห็นคุณค่าการสร้างสรรค์งานศิลปะประยุกต์
1.2 รู้จักค้นหาทดลองเทคนิควิธีการสร้างสรรค์ศิลปะให้เหมาะสมกับการกระบวนการสร้างสรรค์
1.3 มีการวิเคราะห์หารูปแบบ เนื้อหา เทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ที่แสดงออกแบบเฉพาะตน ในแนวทางศิลปะประยุกต์
1.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยประยุกต์ใช้สื่อวัสดุและเทคนิคทางศิลปกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดความงามและประโยชน์ใช้สอย
1.2 รู้จักค้นหาทดลองเทคนิควิธีการสร้างสรรค์ศิลปะให้เหมาะสมกับการกระบวนการสร้างสรรค์
1.3 มีการวิเคราะห์หารูปแบบ เนื้อหา เทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ที่แสดงออกแบบเฉพาะตน ในแนวทางศิลปะประยุกต์
1.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยประยุกต์ใช้สื่อวัสดุและเทคนิคทางศิลปกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดความงามและประโยชน์ใช้สอย
เพื่อพัฒนาการสอนวิชาศิลปะประยุกต์ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการคลี่คลายรูปแบบ ในงานศิลปะประยุกต์ เลือกหาเทคนิควิธีการให้เหมาะสมกับการแสดงออก รวมทั้งสามารถประยุกต์หรือบูรณาการงานศิลปะร่วมกับศาสตร์ด้านอื่นๆได้ และมีเอกลักษณ์เฉพาะตน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยนำสื่อ วัสดุกระบวนการสร้างผลงาน เทคนิคกลวิธีของศิลปกรรมสาขาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ผสมผสานกัน เพื่อให้เกิดความงามและประโยชน์ใช้สอย
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
3. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
3. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
6. ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปนิพนธ์ที่นำเสนอ
7. ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. | 2. | 3. | 1. | 2. | 3. | 4. | 1. | 2. | 3. | 4. | 1. | 2. | 3. | 1. | 2. | 3. | 1. |
1 | BFAVA182 | ศิลปะประยุกต์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.3, 2.1, 2.2–2.4, 3.1-3.2, 3.3, 4.2-4.3 | การประเมินย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค การประเมินย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค | 4, 6, 8, 11, 14, 17 | 20% 0% 20% 0% |
2 | 1.1, 1.3, 2.1, 2.2–2.4, 3.1-3.2, 3.3, 4.2-4.3, 5.1-5.3, 6.1 | ประเมินสรุปทุกชิ้นผลงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานและผลงาน การส่งผลงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
3 | 1.1, 1.3, 2.1, 3.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
- พจนานุกรมศัพท์ศิลปะประยุกต์ / ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
- อีกแบบ DIY by มดโหมด / มดโหมด, กรุงเทพฯ : handmade, 2557
- DIY งานสานพร้อมตกแต่งด้วยผ้าและเดคูพาจ / Sweetie, กรุงเทพฯ : ทรูไลฟ์, 2556
- DIY สไตล์ทำมือ / เนตรนารี คร้ามมีทรัพย์, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์ , 2555
- ศิลปะการเพ้นท์ / คนึง จันทร์ศิริ, กรุงเทพฯ : นิตยสารขวัญเรือนและงานฝีมือ
- HOBBY PAINT ใคร ๆ ก็เพ้นท์ได้ / เนตรนารี คร้ามมีทรัพย์, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2559
- ศิลปะและเทคนิคการเพ้นท์ด้วยสีอะครีลิก / [สร้างสรรค์งานโดย : กชภัค ศรีสกุลธรรม ; บรรณาธิการ : สมบูรณ์ เล็กวงศ์ไพบูลย์], กรุงเทพฯ : เพชรกะรัต, 2550
- Print & Stamp Lab : 52 ideas for handmade, upcycled print tools/ Traci Bunkers, Beverly, Mass : Quarry books, c2010
- Printing by hand : a modern guide to printing with handmade stamps, stencils, and silk screens / by LenaCorwin ; photography by Thayer Allyson Gowdy, New York : Stewart, Tabori & Chang, c2008
- อีกแบบ DIY by มดโหมด / มดโหมด, กรุงเทพฯ : handmade, 2557
- DIY งานสานพร้อมตกแต่งด้วยผ้าและเดคูพาจ / Sweetie, กรุงเทพฯ : ทรูไลฟ์, 2556
- DIY สไตล์ทำมือ / เนตรนารี คร้ามมีทรัพย์, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์ , 2555
- ศิลปะการเพ้นท์ / คนึง จันทร์ศิริ, กรุงเทพฯ : นิตยสารขวัญเรือนและงานฝีมือ
- HOBBY PAINT ใคร ๆ ก็เพ้นท์ได้ / เนตรนารี คร้ามมีทรัพย์, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2559
- ศิลปะและเทคนิคการเพ้นท์ด้วยสีอะครีลิก / [สร้างสรรค์งานโดย : กชภัค ศรีสกุลธรรม ; บรรณาธิการ : สมบูรณ์ เล็กวงศ์ไพบูลย์], กรุงเทพฯ : เพชรกะรัต, 2550
- Print & Stamp Lab : 52 ideas for handmade, upcycled print tools/ Traci Bunkers, Beverly, Mass : Quarry books, c2010
- Printing by hand : a modern guide to printing with handmade stamps, stencils, and silk screens / by LenaCorwin ; photography by Thayer Allyson Gowdy, New York : Stewart, Tabori & Chang, c2008
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
https://artdaily.com
https://www.contemporaryartdaily.com
https://www.appliedartsmag.com
https://www.baanlaesuan.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. ผลงานการสร้างสรรค์
มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1.นักศึกษาสามารถสร้างผลงานศิลปะประยุกต์และนำไปเป็นแนวทางในการหารายได้เสริมได้
2.การตรวจสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นๆหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
3. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ผลงานสร้างสรรค์ วิธีการให้คะแนนผลงาน และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1.ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
2. เชิญผู้เชี่ยวชาญในสาขาจากภายนอกสถาบัน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากผลงาน และข้อมูลการค้นคว้า