เคมีสำหรับงานจักรกลเกษตร
Chemistry for Agricultural Machinery
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในหลักการพื้นฐานทางเคมี หน่วยทางการวัด เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจธาตุและสารประกอบ ปฏิกิริยาเคมี ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ เคมีไฟฟ้า ปุ๋ย ธาตุอาหารพืช วัตถุอันตราย สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะเกษตร
ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการทางเคมี หน่วยการวัด ธาตุและสารประกอบ ปฏิกิริยาเคมี ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ เคมีไฟฟ้า ปุ๋ย ธาตุอาหารพืช วัตถุอันตราย สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- ตรวจเช็คการแต่งกายถูกระเบียบ มหาวิทยาลัยฯ ทุกครั้งที่มาเรียน
- เช็คชื่อเข้าห้องเรียน
- ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- เช็คชื่อเข้าห้องเรียน
- ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- สอนโดยบรรยาย -
การทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
การทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- ประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- สอนโดยบรรยาย
- การทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- การทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหัด
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่องานและหน้าที่ของตนเอง
4.1.2 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- ให้ทำแบบฝึกหัด
- ค้นคว้านอกเวลาเรียน
- ค้นคว้านอกเวลาเรียน
- ประเมินจากผลงานที่ทำและรายงานที่นำเสนอ
- ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการส่งงาน
- ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการส่งงาน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายให้สืบค้นความรู้เพิ่มเติมในบางหัวข้อ และนำเสนอโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
- ให้สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับสมดุลแร่ธาตุในธรรมชาติหรือในศาสตร์ของตน
- ให้สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับสมดุลแร่ธาตุในธรรมชาติหรือในศาสตร์ของตน
ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ทักษะการทดลองในห้องปฏิบัติการ
นักศึกษาทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ
สังเกตการทำการทดลอง ตรวจผลการทดลอง การอภิปรายผลการทดลอง
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2 | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมใน/นอกชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 10% |
2 | 2.1 , 2.2 , 2.4 | ทดสอบระหว่างหน่วยเรียน / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค / ผลงาน | 9 และ 17 | 50% |
3 | 3.1,3.4,4.5,5.1 | สังเกตุ แบบทดสอบ สัมภาษณ์ | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
กฤษณา ชุติมา. 2539. หลักเคมีทั่วไป เล่ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
2 กฤษณา ชุติมา. 2539. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
3. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2533. เคมีเล่ม อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.
4. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2533. เคมีเล่ม 2. อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.
5. นภดล ไชยคำ. 2543. เคมี เล่ม แมคกรอ-ฮิล, กรุงเทพฯ.
6. นภดล ไชยคำ. 2543. เคมี เล่ม 2. แมคกรอ-ฮิล, กรุงเทพฯ.
7. ประเสริฐ ศรีไพโรจน์. 2545. เคมีพื้นฐานเล่ม สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ.
8. วิโรจน์ ปิยวัชรพันธุ์. 254 เคมีทั่วไป โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 9. ลัดดา มีศุข. 2545. เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 10. สุนันทา วิบูลย์จันทร์. 2545. เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์. เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,
ค้นคว้าจากเว็ปไซต์ ตารางธาตุ ตารางลอการิทึม
บทความและคลิปวิดีโอเกี่ยวกับเคมีในด้านต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของหลักสูตร ภายในรอบเวลาหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหลักสูตร เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป