วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
High Voltage Engineering
1) เข้าใจเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าแรงดันสูง และแรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลัง และ แรงดันทดสอบ อุปกรณ์
2) เข้าใจการสร้างแรงดันสูงเพื่อทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับ กระแสตรงและแรงดันอิมพัลส์
3) เข้าใจเทคนิคการวัดแรงดันสูงกระแสสลับ แรงดันสูงกระแสตรง และแรงดันอิมพัลส์ กระแสอิมพัลส์
4) เข้าใจสนามไฟฟ้าความเครียดสนามไฟฟ้า และเทคนิคการฉนวน สนามไฟฟ้าในวัสดุเนื้อสารชนิด เดียวกัน และต่างชนิดกัน
5) เข้าใจการเบรกดาวน์ในฉนวนก๊าซ กระบวนการไอออไนเซชั่น และอาร์คทางไฟฟ้า
6) เข้าใจเทคนิคการฉนวนชนิดของแข็ง และฉนวนชนิดของเหลว
7) เพื่อเทคนิคการทดสอบแรงดันสูง และเทคนิคการทดสอบอุปกรณ์ทางไฟฟ้าแรงสูง
8) เข้าใจแรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่า และการป้องกันฟ้าผ่า
9) ตระหนักถึงความสำคัญของ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
2) เข้าใจการสร้างแรงดันสูงเพื่อทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับ กระแสตรงและแรงดันอิมพัลส์
3) เข้าใจเทคนิคการวัดแรงดันสูงกระแสสลับ แรงดันสูงกระแสตรง และแรงดันอิมพัลส์ กระแสอิมพัลส์
4) เข้าใจสนามไฟฟ้าความเครียดสนามไฟฟ้า และเทคนิคการฉนวน สนามไฟฟ้าในวัสดุเนื้อสารชนิด เดียวกัน และต่างชนิดกัน
5) เข้าใจการเบรกดาวน์ในฉนวนก๊าซ กระบวนการไอออไนเซชั่น และอาร์คทางไฟฟ้า
6) เข้าใจเทคนิคการฉนวนชนิดของแข็ง และฉนวนชนิดของเหลว
7) เพื่อเทคนิคการทดสอบแรงดันสูง และเทคนิคการทดสอบอุปกรณ์ทางไฟฟ้าแรงสูง
8) เข้าใจแรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่า และการป้องกันฟ้าผ่า
9) ตระหนักถึงความสำคัญของ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในศึกษาเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าแรงดันสูง และแรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลัง การสร้างไฟฟ้าแรงสูงเพื่อทดสอบ เทคนิคการวัดไฟฟ้าแรงสูง ความเครียดสนามไฟฟ้า และเทคนิคการฉนวน การเบรคดาวน์ในก๊าซ ฉนวนเหลว ฉนวนแข็ง เทคนิคการทดสอบแรงดันสูง การประสานสัมพันธ์ทางฉนวนในระบบไฟฟ้า แรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่า การป้องกันฟ้าผ่า
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าแรงสูง แรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลัง การสร้างแรงดันสูง สำหรับการทดสอบ เทคนิคการวัดไฟฟ้าแรงดันสูง ความเครียดสนามไฟฟ้าและ เทคนิคการฉนวน การเบรกดาวน์ในแก๊ส ไดอิเล็กตริกของเหลวและของแข็ง เทคนิค การทดสอบด้านไฟฟ้าแรงสูง ฟ้าผ่าและการป้องกัน การจัดความสัมพันธ์ฉนวน
- ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
-ให้นักศึกษาแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ในทุกการเรียนการสอน
-ให้งานอย่างสม่ำเสมอและสอดคล้องกับเนื้อหา เพื่อฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาโจทย์
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม โดยการพูดคุยเน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่
-ให้งานอย่างสม่ำเสมอและสอดคล้องกับเนื้อหา เพื่อฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาโจทย์
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม โดยการพูดคุยเน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่มีส่วนร่วมในชั้นเรียน เช่น การตั้งคำถาม การตอบคำถาม การแสดง ความเห็น การรับฟัง เป็นต้น
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดระยะเวลา และการร่วมกิจกรรม
- เวลาในการเข้าชั้นเรียนแต่ละสัปดาห์
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดระยะเวลา และการร่วมกิจกรรม
- เวลาในการเข้าชั้นเรียนแต่ละสัปดาห์
มีความรู้ ความเข้าใจระบบไฟฟ้าแรงสูงรูปแบบต่าง ๆ สามารถหาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบได้ และสามารถการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการนำความรู้ทางวิศวกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
บรรยายทฤษฎีอธิบายพร้อมตัวอย่างการคำนวณของแต่ละบท และให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการ ทำโจทย์ปัญหาในชั้นเรียนหลังการสอนแต่ละบท และสามารถซักถามข้อสงสัย วิเคราะห์เนื้อหาที่เรียน
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบปรนัยและอัตนัยที่เน้นการคิดวิเคราะห์
- การบ้านที่กำหนดให้จากแบบฝึกหัดท้ายบท
- การบ้านที่กำหนดให้จากแบบฝึกหัดท้ายบท
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและวิเคราะห์เหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ที่ได้ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ
ให้นักศึกษาสามารถซักถามบทเรียน เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจก่อนที่ทำโจทย์ท้ายบท
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดคำนวณและประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
- นักศึกษาต้องส่งงานหรือการบ้านตรงที่ได้มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
- การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการคิด คำนวณ วิเคราะห์โจทย์ตัวอย่างในชั้นเรียน
- ประเมินจาการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา พัฒนาทักษะในการคิด วิเคราะห์โจทย์และการคำนวณที่ใช้พื้นฐานและสมมติฐานทางทฤษฎีได้ อย่างถูกต้อง
กำหนดให้ทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน เพื่อทดสอบความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะการคิด คำนวณ และแก้ปัญหาโจทย์
ตรวจสอบการบ้านที่มอบหมาย
ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยคุณธรรมและจริยธรรมอย่างสม่ำเสมอมีคุณธรรม และจริยธรรม มีวินัยซื่อสัตย์สุจริต ตรงต่อเวลาเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6.2.1. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก
6.2.2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดเน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง
6.2.2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดเน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง
การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลาสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
สำรวย สังข์สะอาด,“วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง”,ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,พ.ศ.2528 ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป