ศิลปะการแกะสลักและการจัดดอกไม้
Arts of Carving and Flower Arrangement
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับการแกะสลัก การจัดผักและผลไม้ การปอก การคว้าน และการแกะสลักผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปจัดตกแต่งโต๊ะอาหาร การประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงามเหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยงการจัดดอกไม้แบบต่างๆ ลักษณะของภาชนะที่ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปจัดตกแต่งโต๊ะอาหาร มีความรู้เกี่ยวกับการประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง สามารถประนุกต์ให้เข้ากับลักษณะการจัดเลี้ยงการจัดดอกไม้แบบต่างๆ สามารถเลือกลักษณะของภาชนะที่ในการจัด เลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย รูปแบบที่เหมาะสมกับการใช้งานในด้านงานบริการ
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดผักและผลไม้ การปอก การคว้าน และการแกะสลักผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปจัดตกแต่งโต๊ะอาหาร การประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงามเหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยงการจัดดอกไม้แบบต่างๆ ลักษณะของภาชนะที่ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาต่างๆ (Study the basics of fruit and vegetable arrangement, including peeling, carving, and sculpting techniques, to enhance table decoration. Learn to craft containers from banana leaves and create various types of traditional Thai decorative items such as krathongs. The course also covers food presentation suitable for different festivals and banquet styles. Additionally, students will explore various floral arrangement styles, container selection, flower and foliage choices, flower preservation techniques, and floral designs appropriate for different occasions)
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ หรือ กลุ่ม facebook ของรายวิชา (ซึ่งนักศึกษาได้เข้าร่วมตั้งแตกเริ่มคาบเรียนแรกทุกคน)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพด้านบริการ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับอาชีพการจัดดอกไม้ฯ มีความซื่อสัตย์ในการประกอบวิชาชีพทางด้านการบริการอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตรการท่องเที่ยวฯ ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพด้านบริการ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับอาชีพการจัดดอกไม้ฯ มีความซื่อสัตย์ในการประกอบวิชาชีพทางด้านการบริการอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตรการท่องเที่ยวฯ ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 มีการทำความเข้าใจและสื่อสารให้นักศึกษาเข้าใจในการเคารพตนเอง มีการเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอเพื่อรักษาผลประโยชน์ตนเองและฝึกฝนความตรงต่อเวลาอันเป็นคุณลักษณะเบื้องต้นของการเป็นผู้ประกอบการ และคนทำงานที่ดีในด้านงานบริการ
1.2.2 สอดแทรกการบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพและการให้บริการ
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องที่เชื่อถือได้ ไม่ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถอ้างอิงที่มาหรือข้อมูลจาก ปัญญาประดิษฐ์ หรือข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ (เช่น ข้อมูลไม่มีที่มา (Unreferenced data), ข้อมูลที่ขาดการอ้างอิง (Uncited information), ข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ (Unverified data), ข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ (Unreliable information)เป็นต้น)
1.2.4 กำหนดให้ทุกชิ้นงานที่นำเสนอทั้งทางเอกสาร(เช่น รายงาน, โครงงาน หรือข้อสอบ) ทางวาจา (การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การนำเสนอโปรเจค ฯลฯ) หรืออื่นใดที่มีการนำผลงานของผู้อื่นมาประกอบหรือนำมาใช้อ้างอิงต้องมีการให้เครดิตตามหลักวิชาการอย่างเคร่งครัด
1.2.2 สอดแทรกการบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพและการให้บริการ
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องที่เชื่อถือได้ ไม่ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถอ้างอิงที่มาหรือข้อมูลจาก ปัญญาประดิษฐ์ หรือข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ (เช่น ข้อมูลไม่มีที่มา (Unreferenced data), ข้อมูลที่ขาดการอ้างอิง (Uncited information), ข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ (Unverified data), ข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ (Unreliable information)เป็นต้น)
1.2.4 กำหนดให้ทุกชิ้นงานที่นำเสนอทั้งทางเอกสาร(เช่น รายงาน, โครงงาน หรือข้อสอบ) ทางวาจา (การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การนำเสนอโปรเจค ฯลฯ) หรืออื่นใดที่มีการนำผลงานของผู้อื่นมาประกอบหรือนำมาใช้อ้างอิงต้องมีการให้เครดิตตามหลักวิชาการอย่างเคร่งครัด
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 มีความรู้เกี่ยวกับการแกะสลัก การจัดผักและผลไม้ การปอก การคว้าน และการแกะสลักผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน
2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดตกแต่งโต๊ะอาหารโดยใช้การแกะสลักและงานใบตองเข้ามาประยุกต์
2.1.3 มีความรู้ในการประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงามเหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยง
2.1.4 มีความรู้เรื่องประวัติและประเภทของการจัดดอกไม้แบบต่างๆ
2.1.5 มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของภาชนะที่ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาสต่างๆ
2.1.1 มีความรู้เกี่ยวกับการแกะสลัก การจัดผักและผลไม้ การปอก การคว้าน และการแกะสลักผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน
2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดตกแต่งโต๊ะอาหารโดยใช้การแกะสลักและงานใบตองเข้ามาประยุกต์
2.1.3 มีความรู้ในการประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงามเหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยง
2.1.4 มีความรู้เรื่องประวัติและประเภทของการจัดดอกไม้แบบต่างๆ
2.1.5 มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของภาชนะที่ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาสต่างๆ
2.1.1 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการแกะสลัก การจัดผักและผลไม้ การปอก การคว้าน และการแกะสลักผักและผลไม้ขั้นพื้นฐาน
2.1.2 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดตกแต่งโต๊ะอาหารโดยใช้การแกะสลักและงานใบตองเข้ามาประยุกต์
2.1.3 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงามเหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยง
2.1.4 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติและประเภทของการจัดดอกไม้แบบต่างๆ
2.1.5 บรรยายเกี่ยวกับลักษณะของภาชนะที่ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาสต่างๆ
2.1.2 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดตกแต่งโต๊ะอาหารโดยใช้การแกะสลักและงานใบตองเข้ามาประยุกต์
2.1.3 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง กระทงแบบต่างๆ การประกอบการตกแต่ง และใส่อาหารได้สวยงามเหมาะสมกับเทศกาลและลักษณะการจัดเลี้ยง
2.1.4 บรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติและประเภทของการจัดดอกไม้แบบต่างๆ
2.1.5 บรรยายเกี่ยวกับลักษณะของภาชนะที่ในการจัด การเลือกดอกไม้และใบไม้ การถนอมดอกไม้ให้คงทน การจัดดอกไม้ในโอกาสต่างๆ
3.2.1 ประเมินผลจากการมอบให้นักศึกษาจัดการฝึกปฎิบัติการจัดดอกไม้ แกะสลักต่างๆ เป็นคะแนนรายสัปดาห์ (จำนวนตาม course syllabus)
3.2.2 สอบภาคทฎษฎีกลางภาคและปลายภาค เกี่ยวกับงานใบตอง การจัดดอกไม้ฯ และงานแกะสลักฯ ฯลฯ
3.1.1 มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ ออกแบบ และตัดสินใจในการสร้างสรรค์งานด้านการแกะสลักผักและผลไม้ ตลอดจนการจัดดอกไม้ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับประเภทของงานบริการ
3.1.2 สามารถสื่อสารอัตลักษณ์ของการจัดดอกไม้ในแต่ละโอกาสได้อย่างเหมาะสม
3.1.3 สามารถวางแผนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบ มีความคิดริเริ่มในการสร้างรูปแบบใหม่ ๆ จากการประยุกต์ใช้ความรู้เดิมและแรงบันดาลใจที่ได้จากวัฒนธรรม ศิลปะ และเทรนด์การจัดตกแต่งร่วมสมัย
3.1.2 สามารถสื่อสารอัตลักษณ์ของการจัดดอกไม้ในแต่ละโอกาสได้อย่างเหมาะสม
3.1.3 สามารถวางแผนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบ มีความคิดริเริ่มในการสร้างรูปแบบใหม่ ๆ จากการประยุกต์ใช้ความรู้เดิมและแรงบันดาลใจที่ได้จากวัฒนธรรม ศิลปะ และเทรนด์การจัดตกแต่งร่วมสมัย
ผ่านการมอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติในอัเว้นท์จริงหรือโครงงานฯ จำนวน 1 ครั้งอย่างน้อย
3.3.1 ประเมินผลจากการมอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติจริงหรือโครงงานฯ จำนวน อย่างน้อย 1 ครั้ง (เพื่อวัดทักษะการวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
ลักษณะของวัตถุดิบ เช่น ความแข็ง ความเปราะ หรือรูปทรงของผักและผลไม้ เพื่อกำหนดวิธีการแกะสลักที่เหมาะสม เพื่อวัดทักษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การออกแบบลวดลายใหม่ ๆ หรือรูปแบบการจัดดอกไม้ที่สะท้อนความงามและเหมาะสมกับโอกาสพิเศษ เพื่อวัดทักษะการตัดสินใจ (Decision-Making) สามารถเลือกองค์ประกอบและลำดับขั้นตอนการทำงานให้เหมาะสมกับเวลาที่จำกัด และลักษณะงานบริการ เช่น การจัดโต๊ะบุฟเฟต์ได้ เพื่อวัดทักษะการแก้ปัญหา (Problem-Solving) สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดระหว่างการปฏิบัติ เช่น ดอกไม้หัก ผักช้ำ หรือสีไม่สวย พร้อมทั้งเลือกวิธีการแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ และเพื่อวัดทักษะการประยุกต์ใช้ (Application Skills) ประยุกต์ใช้ความรู้จากศาสตร์อื่น เช่น ศิลปะไทย วัสดุเหลือใช้ วัสดุเหลือทิ้ง วัสดุอินทรีย์ หรือ การตกแต่งภาชนะ เพื่อเพิ่มคุณค่าเชิงสุนทรียะในงานบริการได้)
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 การส่งงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้า การออกแบบ การใช้ความคิดสร้างสรรในการจัดดอกไม้ งานแกะสลักและงานใบตอง
4.2.2 การนำเสนอผลงาน
4.2.2 การนำเสนอผลงาน
4.3.1 สามารถทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมกลุ่มในกระบวนการออกแบบ จัดเตรียม และจัดแสดงผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ
4.3.2 ส่งมอบผลงาน รายงาน หรือ การบ้านได้ตรงตามเวลาที่กำหนด
4.3.3 การคำนวนหาค่าเฉลี่ยจากการให้น้ำหนักภาระงานและคะแนนภาระงานจากทุกคน
4.3.4 เป็นผู้ที่โดดเด่นในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนเพื่อสร้างบรรยากาศของความร่วมมือในชั้นเรียน
4.3.5 มีความซื่อสัตย์ในผลงาน ไม่ลอกเลียนแบบโดยไม่ให้เครดิตกับชิ้นงานต้นแบบ และเคารพกฎระเบียบในการเรียนและการปฏิบัติงาน
4.3.2 ส่งมอบผลงาน รายงาน หรือ การบ้านได้ตรงตามเวลาที่กำหนด
4.3.3 การคำนวนหาค่าเฉลี่ยจากการให้น้ำหนักภาระงานและคะแนนภาระงานจากทุกคน
4.3.4 เป็นผู้ที่โดดเด่นในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนเพื่อสร้างบรรยากาศของความร่วมมือในชั้นเรียน
4.3.5 มีความซื่อสัตย์ในผลงาน ไม่ลอกเลียนแบบโดยไม่ให้เครดิตกับชิ้นงานต้นแบบ และเคารพกฎระเบียบในการเรียนและการปฏิบัติงาน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.2 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ
5.1.3 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
5.1.5 มีความสามารถในการใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวลการแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ
5.1.3 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
5.1.5 มีความสามารถในการใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวลการแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 รูปแล้มรายงานสืบค้น รายงานโครงงาน เป็นต้น
5.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบมาย
5.3.2 ผลงานจากงานที่ได้รับมอบมาย
6.1.1 นักศึกษาควรสามารถปฏิบัติงานด้านการแกะสลักผักและผลไม้ ตลอดจนการจัดดอกไม้ในบริบทของงานบริการได้อย่างถูกต้อง ประณีต สวยงาม สื่อความหมายเหมาะสมกับวาระและโอกาสต่าง ๆ โดยอาศัยความแม่นยำของมือ ประสานกับสายตา ความละเอียดรอบคอบ และความคล่องตัวในการใช้อุปกรณ์
ุ6.2.1 การฝึกปฏิบัติ (Hands-on Practice) แบบรายบุคคลหรือกลุ่ม ผ่านการสาธิต (Demonstration) โดยอาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญ
6.2.2 การเรียนรู้เชิงโครงการ (Project-Based Learning) เช่น การออกแบบชุดตกแต่งโต๊ะอาหารหรือจัดโต๊ะงานเลี้ยงตามธีม
6.2.2 การเรียนรู้เชิงโครงการ (Project-Based Learning) เช่น การออกแบบชุดตกแต่งโต๊ะอาหารหรือจัดโต๊ะงานเลี้ยงตามธีม
6.3.1 แบบประเมินผลงาน (Rubric/Checklist) ใช้เกณฑ์ชัดเจน เช่น ความแม่นยำในการแกะสลัก ความกลมกลืนขององค์ประกอบ ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์
6.3.2 การนำเสนอผลงาน (Presentation) นักศึกษาอธิบายแนวคิดในการออกแบบ ตอบคำถาม และสะท้อนแนวคิดสร้างสรรค์ของตนเอง วิธีประเมิน รายละเอียด
6.3.3 การสังเกตจากการปฏิบัติ (Performance Observation) ประเมินจากความถูกต้อง ประณีต ความคิดสร้างสรรค์ และความเหมาะสมของผลงาน
6.3.2 การนำเสนอผลงาน (Presentation) นักศึกษาอธิบายแนวคิดในการออกแบบ ตอบคำถาม และสะท้อนแนวคิดสร้างสรรค์ของตนเอง วิธีประเมิน รายละเอียด
6.3.3 การสังเกตจากการปฏิบัติ (Performance Observation) ประเมินจากความถูกต้อง ประณีต ความคิดสร้างสรรค์ และความเหมาะสมของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะวิเคราะห์ เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | BOATH139 | ศิลปะการแกะสลักและการจัดดอกไม้ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ฝึกปฎิบัติ Basic Skills | ฝึกปฏิบัติดูจาก ความพร้อมของวัสดุ การจัดเตรียมสิ่งของตามใบงาน ความสะอาด ความถูกต้องตามแบบ | 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10,11, 12, 13 | 50% |
2 | งานเรียนรู้ตามการมอบหมาย Assignments | งานมอบหมาย Assignments | 5, 14 | 10% |
3 | Mid-Term paper Test | สอบข้อเขียน | 9 | 10% |
4 | โครงงาน Project & Exhibition | โครงงานและการจัดนิทรรศการ | 15,16 | 20% |
5 | จิตพิสัย Attendance | เช็ควัสดุต้นคาบ การทำความสะอาด การช่วยเหลือและภาระงานในกลุ่ม เป็นต้น | 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10,11, 12, 13 | 10% |
Saito, Y. (2019). Compositions: Arrangement de fleurs à la française. PIE International.
McLeary, S. (2020). The art of wearable flowers: Floral rings, bracelets, earrings, necklaces, and more. Chronicle Books.
Brotherson, V. (2014). Vintage wedding flowers. Kyle Books.
Johnson, E. W. (2005). Tropical flowers. Gibbs Smith.
Intakul, S. (2007). Grand celebrations: Extraordinary floral designs for weddings and events. Marshall Cavendish Editions.
Hangsajara, P. (n.d.). The flower gallery. Thailand: B2S.
Karpunin, S. (n.d.). Floral art by Sergey Karpunin.
Ngo, N. M. (2012). Bringing nature home: Floral arrangements inspired by nature. Rizzoli.
Azuma, M., & Shiinoki, S. (2017). Flora magnifica: The art of flowers in four seasons. Thames & Hudson.
Zaratsian, E. (2013). Eddie Zaratsian: Custom florals and lifestyle. Los Angeles: Assouline Publishing.
Welford, I., & Wicks, S. (2016). Flower arranging. New Holland Publishers.
Sigfried, R. (2017). The flower book. Chronicle Books.
รัตนาภรณ์ ทองเพิ่มพูน. (2555). ศิลปะการแกะสลักผักและผลไม้ไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สุนีย์ จิตต์สุทธิธรรม. (2554). การแกะสลักผักและผลไม้ไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์เอมพันธ์.
ศิริพร ศรีรัตนกุล. (2553). การแกะสลักผักและผลไม้เพื่อการจัดตกแต่งอาหารไทย. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กาญจนา แสงสุวรรณ. (2557). ศิลปะการจัดและแกะสลักอาหารไทย. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2559). คู่มือการสอนการแกะสลักผักและผลไม้ไทย ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.). โรงพิมพ์คุรุสภา.
ชมรมศิลปะการจัดดอกไม้ไทย. (2557). ศิลปะการจัดดอกไม้ไทย: ความงามที่สืบสานจากอดีต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชู ชูชาติ. (2560). การจัดดอกไม้แบบไทยประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สุธาสินี วีระสุนทร. (2559). การจัดดอกไม้ไทยในงานพิธีมงคลและงานราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์รุ่งเรืองธรรม.
ปาริชาติ ภู่ประเสริฐ. (2561). ภูมิปัญญาการจัดดอกไม้ไทย: จากอดีตสู่ปัจจุบัน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นภัสสร จิตต์สงวน. (2562). การจัดดอกไม้ไทยสำหรับงานต้อนรับและงานแสดงศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ชูเกียรติ ศิริวงศ์, อำพร กันทา, (2568), เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการแกะสลักและการจัดดอกไม้. การท่องเที่ยวและการบริการ มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก Web site ที่เกี่ยวข้องกับการแกะสลักและการจัดดอกไม้
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก งานสัมมนา อบรม ที่เกี่ยวข้องกับการแกะสลักและการจัดดอกไม้
การประชุมสะท้อนผล (Reflective Session) หลังเรียนจบ เพื่อให้นักศึกษาได้อภิปรายข้อดี ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง เช่น ความพร้อมของวัตถุดิบ ความเหมาะสมของเวลาฝึกปฏิบัติ หรือความสมดุลระหว่างเนื้อหาทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
การสะท้อนผลหลังบทเรียน (Post-Practice Reflection)
หลังจบบทเรียนหรือการฝึกปฏิบัติแต่ละสัปดาห์ นักศึกษาเขียนสะท้อนผลการเรียนรู้ (Reflection Log) ซึ่งครอบคลุมทั้งสิ่งที่ได้เรียนรู้ ความรู้สึกต่อรูปแบบการสอน และข้อเสนอแนะที่ต้องการปรับปรุง
ให้นักศึกษา หรือเชฟวิชาชีพ ประเมินผลงานของนักศึกษา(เพื่อน) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากกันและกัน ผลการปรับปรุงเหล่านี้ช่วยให้นักศึกษารู้สึกมั่นใจ พัฒนาทักษะได้ตรงจุด และมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น
หลังทำเมนูหรือสอบปฏิบัติ ให้นักศึกษาสะท้อนว่า ผลงานตรงตามเกณฑ์มาตรฐานที่อาจารย์กำหนดหรือไม่ เช่น texture, taste, presentation ใช้แบบฟอร์ม self-assessment & peer review ให้เพื่อนช่วยประเมินกันเอง เทียบกับ rubric ที่ใช้สอบจริง นำมาพูดคุยกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาเห็นมาตรฐานเดียวกัน
ให้ผู้เรียนสะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ (self & peer review) และร่วมกันวิเคราะห์แนวทางปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เช่น การเสนอเพิ่มเติมเนื้อหาเทคนิคใหม่ ปรับเวลาการฝึกปฏิบัติ ปรับโจทย์การสอบปฏิบัติให้ท้าทายขึ้น หรือเพิ่มการเรียนรู้นอกสถานที่ ผลลัพธ์จากการทบทวนนี้จะถูกบันทึกในรายงานสรุปรายวิชา (Course Report) เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนารายวิชาในรอบถัดไป ให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและมาตรฐานอุตสาหกรรมการครัวได้ดียิ่งขึ้น