ภาษาเบื้องต้น

Introduction to Language

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ที่เน้น ภาษาอังกฤษเป็นหลัก รวมทั้งแขนงอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับภาษาศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ในระบบที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ และ ทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ในระบบภาษาอังกฤษ และแขนงต่างๆที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดพื้นฐานและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ แขนงของภาษาศาสตร์ และระบบของ ภาษา โดยเน้นภาษาอังกฤษเป็นหลัก
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ความมีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่สามารถทำไปใช้ในงานบริการได้
          1.2.2    ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
          1.2.3    กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.2.4 ให้นักศึกษามีความพร้อมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และการส่งงานให้ตรงต่อเวลา
1.3.1    การทดสอบความเข้าใจในการสอบกลางภาคและปลายภาค
1.3.2    การเข้าเรียนตรงเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจทั้งในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา โดยทางทฤษฎีเน้นความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาษาศาสตร์ที่เกี่ยวกับภาษาอังกฤษเป็นหลัก โดยเน้นให้มี ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับองค์ประกอบด้านภาษา เช่น หน่วยเสียง หน่วยคำา ประโยค ความหมาย เป็นต้น โดยเน้นที่ระบบ
        ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบ เช่นการ บรรยาย อภิปราย ดูวิดีทัศน์และมอบหมายงาน รวมทั้งทำแบบฝึกหัดทบทวนความรู้
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2.2.3 ให้โอกาสนักศึกษาสอบถามในชั้นเรียน
          2.3.1    การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
          2.3.2    การฝึกปฏิบัติการพูดสนทนาภาษาอังกฤษที่ใช้ในงานบริการ
          2.3.3    งานนำเสนอผลงาน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้สถานการณ์จำลอง ในเหตุการณ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ในงานบริการ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนทฤษฎีคู่กับปฏิบัติโดย
3.2.1    ให้นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษผ่านทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ในสถานการณ์จำลองที่เกี่ยวกับ งานบริการ
3.2.2    ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียนโดยเลือกหัวข้อสถานการณ์เอง
3.3.1    การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2    การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักการทำงานเป็นทีม โดยการช่วยกันค้นคว้าหาคำตอบ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
        จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และ ช่วยกันระดมสมองในการวิเคราะห์กรณีเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ได้
  4.3.1  ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
  4.3.2    ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
  4.3.3    สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษา
          5.1.1    ค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษในงานบริการได้อย่างถูกต้อง
          5.1.2    สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบท
   
ประเมินจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา ได้แก่
5.2.1 บรรยาย อภิปราย ใช้สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์
5.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง off-line และ on-line โดยให้นักศึกษามีการอ้างอิงถึงแหล่งของข้อมูลด้วย
ประเมินจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา ได้แก่
          5.3.1    การทดสอบความรู้ด้านภาษาในการสอบกลางภาคและปลายภาค
          5.3.2    ผลงานการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
          5.3.3    ผลการทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 0-3 สอบกลางภาค 9 25%
2 หน่วยที่ 4-7 สอบปลายภาค 17 25%
3 หน่วยที่ 0-5 ทดสอบย่อย / แบบฝึกหัด / กิจกรรม / งานมอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 40%
4 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอนวิชาการภาษาเบื้องต้น
Ariyapitipun, S. (2003). Introduction to linguistics (5th ed.). M. Pioneer Intertrade Company, Limited.
Carley, P., Mees, I. M., & Collins, B. S. (2018). English phonetics and pronunciation practice. Routledge.
Crystal, D. (2021). 50 questions about English usage. Cambridge University Press.
Finegan, E. (2014). Language: Its structure and use (7th ed.). Cengage Learning.
Permkasetwit, B. (2015). English phonetics (3rd ed.). Triple Group.
Wayland, R. (2019). Phonetics: A practical introduction. Cambridge University Press.
https://doi.org/10.1017/9781108289849
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2561). ภาษาศาสตร์เบื้องต้น = Introduction to linguistics (พิมพ์ครั้งที่ 3). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย.
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์
 
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูล เพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา จากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือ หัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและ รายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม ข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จาก รายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์