การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี
Business Finance for Accountant
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆ ทางการเงิน บทบาทหน้าที่และความสำคัญของตลาดเงินและตลาดทุน การวิเคราะห์ การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน เครื่องมือทางการเงินที่นำมาใช้ในการตัดสินใจลงทุนและวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน ผลตอบแทนทางการเงินและการลงทุน นโยบายเงินปันผลเนื้อหาวิชาจะเป็นความรู้สาขาวิชาทางการเงินขั้นพื้นฐานที่จะนำมาใช้ในการบริหารงานทางการเงินเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ศึกษาเป็นพื้นฐานทางด้านการบริหารการเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี เพื่อที่ธุรกิจจะสามารถจัดหาและจัดสรรทรัพยากร ให้เกิดมูลค่าสูงสุดต่อธุรกิจ ให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการบริหารการเงินที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางการเงิน บทบาทหน้าที่และความสำคัญของตลาดเงินและตลาด ทุน เครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ เทคนิคในการวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน การจัดการทุนหมุนเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน ผลตอบแทนทางการเงินและการลงทุนนโยบายเงินปันผล
อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาผ่านทางโทรศัพท์ /อีเมล์ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1) มีความรู้และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2) สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
3) แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1) มีความรู้และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2) สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
3) แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
๑) กำหนดข้อตกลงให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ความรับผิดขอบ ความซื่อสัตย์
๒) สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพโดย ใช้กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์จริง แนวทางในการแก้ปัญหา
๒) สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพโดย ใช้กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์จริง แนวทางในการแก้ปัญหา
๑) ประเมินผลจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
๒) ประเมินผลจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
๓) ประเมินผลจากการกระทำทุจริตในการสอบ
๒) ประเมินผลจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
๓) ประเมินผลจากการกระทำทุจริตในการสอบ
1) มีความรู้และความเข้าใจและมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2) มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3) มีความรู้ และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
4) มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
2) มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3) มีความรู้ และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
4) มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
๑) การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา รวมถึงการบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษาจากรายงานการเงินของธุรกิจที่เปิดเผยข้อมูลในเวปไซด์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน และยกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เพื่อกระตุ้นให้นศ.มี กระบวนการคิดแก้ปัญหา โดยประยุกต์ใช้เนื้อหาที่เรียน
๒) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงบการเงินของธุรกิจจริง ในตลาดหลักทรัพย์ และจากสถานประกอบการจริง หรือวิสาหกิจชุมชน เพื่อใช้ประกอบการเรียน
๓) การเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์จริงมาถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยเชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้
๒) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงบการเงินของธุรกิจจริง ในตลาดหลักทรัพย์ และจากสถานประกอบการจริง หรือวิสาหกิจชุมชน เพื่อใช้ประกอบการเรียน
๓) การเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์จริงมาถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยเชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้
๑) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน
การค้นคว้า และการนำเสนอ
๒) การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ
การค้นคว้า และการนำเสนอ
๒) การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ
1) มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2) มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3) มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการแปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4) มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความ คิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
2) มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3) มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการแปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4) มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความ คิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
๑) ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่
สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง เช่น วิเคราะห์งบการเงินจากบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ หรือวิสาหกิจชุมชน บทความวิจัยเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ในรายวิชา ให้นศ.วิเคราะห์ ปัญหาและพิจารณาการแก้ปัญหาในงานนั้น ๆ จากองค์ความรู้
๒) การสอนโดยใช้ข้อมูลจริงจากข่าวเศรษฐกิจ สังคม การเมือง บทความวิชาการ งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฝึกทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ
๓) สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง เช่น วิเคราะห์งบการเงินจากบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ หรือวิสาหกิจชุมชน บทความวิจัยเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ในรายวิชา ให้นศ.วิเคราะห์ ปัญหาและพิจารณาการแก้ปัญหาในงานนั้น ๆ จากองค์ความรู้
๒) การสอนโดยใช้ข้อมูลจริงจากข่าวเศรษฐกิจ สังคม การเมือง บทความวิชาการ งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ฝึกทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ
๓) สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
๑) ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์
จำลองที่ได้รับมอบหมาย
๒) ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
๓) ประเมินจากรายงาน ผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน เช่น คุณภาพของงาน รายงานการวิเคราะห์งบการเงิน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และรายงาน การนำ ความรู้ทางการเงินธุรกิจประยุกต์ใช้กับ วิสาหกิจชุมชนหรือกิจการอื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
จำลองที่ได้รับมอบหมาย
๒) ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
๓) ประเมินจากรายงาน ผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน เช่น คุณภาพของงาน รายงานการวิเคราะห์งบการเงิน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และรายงาน การนำ ความรู้ทางการเงินธุรกิจประยุกต์ใช้กับ วิสาหกิจชุมชนหรือกิจการอื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
1) มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
2) มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำงานให้สำเร็จ ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด อย่างมีประสิทธิภาพ
3) มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
2) มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำงานให้สำเร็จ ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด อย่างมีประสิทธิภาพ
3) มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
๑) มอบหมายให้ทำรายงานกลุ่มย่อย กรณีศึกษากลุ่ม ละ 3 - 5 คน
๒) อภิปรายกลุ่มย่อยจากกรณีศึกษา งานมอบหมาย
๒) อภิปรายกลุ่มย่อยจากกรณีศึกษา งานมอบหมาย
๑) ประเมินผลจากประสิทธิภาพของการทำงานร่วมกัน
๒) ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย ส่งงานตามกำหนด
๓) ประเมินผลจากการนำเสนองาน
๒) ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย ส่งงานตามกำหนด
๓) ประเมินผลจากการนำเสนองาน
1) มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานผลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2) มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ SPA SA
3) มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม กับสถานการณ์
2) มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ SPA SA
3) มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม กับสถานการณ์
๑) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคานวณเชิงตัวเลข เช่นการสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับงบการเงินของธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจจากเวปไซด์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และจัดทำรายงาน เป็นกลุ่ม โดยนำความรู้จากรายวิชา ประยุกต์ใช้กับการดำเนินการในสถานประกอบการ จริง หรือ กิจการที่ผู้เรียนได้ตั้งขึ้นมา ให้เพื่อนในชั้นเรียนมีส่วนร่วม
๒) จัดทำสื่อประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ให้ผู้ฟังอย่างน่าสนใจ
๓) มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
๒) จัดทำสื่อประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ให้ผู้ฟังอย่างน่าสนใจ
๓) มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
๑) การนำเสนอรายงานกลุ่มที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล
๒) ประเมินผลจากสื่อและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๓) การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา จากกรณีศึกษา และแบบฝึกหัด
๒) ประเมินผลจากสื่อและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๓) การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา จากกรณีศึกษา และแบบฝึกหัด
รับรู้และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้
บรรยาย และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ผลงานที่นำเสนอ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ๑,๒,๓,๕ | การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค | ๙ ๑๗ | ๓๐% ๓๐% |
2 | ๒,๓,๔,๕ | รายงานเดี๋ยว ๑๐% และ กลุ่ม ๒๐% | สุ่มรายสัปดาห์ | ๓๐% |
3 | ๑,๒,๓,๔,๕ | สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถามในห้องเรียน ความมีวินัย ตรงเวลา ในการเข้าเรียน | สุ่มรายสัปดาห์ | ๑๐% |
-การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี ผู้เรียบเรียง ดร.พวงทอง วังราษฏร์
การเงินธุรกิจ ผู้เรียบเรียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสรฐสุดา ปรีชานนท์
- การเงินธุรกิจ ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลวรรณ พิมพ์แพทย์
- การจัดการการเงิน ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์
- การเงินธุรกิจ ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญพิมล ลีโนทัย
-นวัตกรรมการบัญชีเพื่อการจัดการเชิงกลยุทธ์ ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์ ดร.กรไชย พรลภัสรชกร
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิเคราะห์งบการเงิน
- www.sec.or.th , www.settrade.com , www.fap.or.th
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
ประเมินการสอนจากผลการสอบของนักศึกษา และจากงานกลุ่มการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา
ปรับปรุงการสอน ตามผลการประเมินของนักศึกษาในภาคเรียนที่ผ่านมา ดังนี้
1.เพิ่มวิธีการการถ่ายทอดความรู้ด้วยที่หลากหลายมากขึ้นเช่น ยกตัวอย่างจากบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่สอน เพื่อให้นศ.เข้าใจง่ายขึ้นเห็นภาพจริงในการนำไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งตัวอย่างบทความที่นศ.ได้สืบค้นมา นำมาแชร์ให้กับผู้สอน และเพื่อนในชั้นเรียน
2.เพิ่มการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ฝึกทักษะ การนำเสนอ กล้าแสดงออก และแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยการสุ่มนศ. บางสัปดาห์
3.เพิ่มความคิดสร้างสรรค์ผลงานจาก การมอบหมายงาน ด้วยโปรแกรม CANVA
4.เพิ่มกิจกรรมให้นศ.ได้สืบค้นงานเพิ่มมากขึ้น
1.เพิ่มวิธีการการถ่ายทอดความรู้ด้วยที่หลากหลายมากขึ้นเช่น ยกตัวอย่างจากบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่สอน เพื่อให้นศ.เข้าใจง่ายขึ้นเห็นภาพจริงในการนำไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งตัวอย่างบทความที่นศ.ได้สืบค้นมา นำมาแชร์ให้กับผู้สอน และเพื่อนในชั้นเรียน
2.เพิ่มการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ฝึกทักษะ การนำเสนอ กล้าแสดงออก และแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยการสุ่มนศ. บางสัปดาห์
3.เพิ่มความคิดสร้างสรรค์ผลงานจาก การมอบหมายงาน ด้วยโปรแกรม CANVA
4.เพิ่มกิจกรรมให้นศ.ได้สืบค้นงานเพิ่มมากขึ้น
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลการประเมินข้อ ๑ ข้อ ๓ ข้อ ๔ มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา การทบทวนเพื่อปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อสอบ